หลังจากอ่าน สรรพสาระ สำหรับผู้แสวงหาจบ ก็อ่าน หนังสือ อ่านคน-ไทย ต่อ ซึ่งเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ในโครงการประมวลงานเขียนของ ส. ศิวรักษ์ ในวาระ ๗ ทศวรรษ - ๖ รอบนักษัตร
ซึ่งระหว่างที่อ่านก็ได้เห็นมุมมองของ อ. สุลักษณ์ ต่อบุคคลต่าง ๆ ซึ่งจะว่าไปแล้วผมแทบไม่รู้จักเลย อาจจะเคยได้ยินชื่อบ้าง แต่ก็ไม่สามารถอธิบายอะไรเพิ่มเติมไปมากกว่าชื่อที่เคยได้ยิน จึงทำให้ผมได้เรียนรู้เรื่องราว ของคนในอดีตเพิ่มขึ้นอย่างมาก
แต่อย่างไรก็ตามหนังสือเล่มดังกล่าว เป็นการอ่านคน หรือเป็นการเล่าเรื่องคนอย่างย่อ ๆ พอผมเริ่มอ่านไปซักพักแล้วมันเริ่มเบื่อ ไม่สามารถอ่านต่อจนจบในทีเดียวได้ จึงได้พัก หนังสือเล่มดังกล่าวเพื่อมาอ่านหนังสือ แนวที่ต่างออกมา ซึ่งจริง ๆแล้วก็มีหนังสือของผู้เขียนท่านอื่น แต่เนื่องจาก หนังสือของอาจารย์ ส. ศิวรักษ์ ที่ผมมีอยู่นั้น ค่อนข้างมากที่เดียว จึงอยากจะรีบอ่านของอาจารย์ให้มากก่อน อย่างน้อยจะได้รู้สึกว่าพร่องไปบ้าง จึงมาหยุดที่หนังสือ เล่มนี้ พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ
เปิดมาคำนำสำนักพิมพ์ ก็ได้แนะนำหนังสือมากมายเลยทีเดียว เริ่มจาก
เสียงจากแดนไกล(กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2536)
ผจญมาร รสช.(กรุงเทพฯ: สถาบันสันติประชาธรรม, 2538)
พิพากษาสังคมไทย พิพากษา ส. ศิวรักษ์: คู่มือการดำเนินคดีอาญาลักษณะความผิดฐานหมิ่นพระบรม
เดชานุภาพ และหมิ่นประมาท (กรุงเทพฯ: สถาบันสันติประชาธรรม, 2539)
คนนอกคุก ทำไมข้าพเจ้าไม่สยบยอม รสช. ภาค ๑ และ๒ (กรุงเทพฯ: ศึกษิตสยาม, 2540)
ด้านใน ส.ศิวรักษ์
๑๐ ปัญญาชนสยาม เล่ม ๒ ปัญญาชนหลังการปฏิวัติ ๒๕๔๗
บาเรนต์ ยาน แทร์วิล, "เกิดอะไรขึ้นที่หนองสาหร่าย: เปรียบเทียบหลักฐานท้องถิ่น และหลักฐานยุโรปที่กล่าวถึง ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ ในสยาม" แปลโดย ณัฐนพ พลาหาญ ใน ปาจารยสาร(ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๖-๒๕๕๗) หน้า 52-79
http://chaoprayanews.com/blog/canthai/2014/10/13/ส-ศิวลักษณ์กระทำความผิด/
http://www.prachatai.com/english/node/4416
John Ralston Saul, Voltaire's Bastards: The Dictatorship of Reason in the west(New York. Free Press: Maxwell Macmillan International, 1992)
Oscar Douglas Skelton, Life and Letters of Sir Wilfrid Laurier, Vol 1 (Oxford University Press)
The Doubters Companion: A dictionary of aggressive common sense(Free Press, 2013)
ปรีดี พนมยงค์. คณะราษฎรกับการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย 24 มิถุนายน: ความเป็นมาของศัพท์ไทย "ปฏิวัติ, รัฐประหาร, วิวัฒน์, อภิวัฒน์" พิมพ์ครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: แม่คำผาง , 2553)
ส. ศิวรักษ์. เจ้าพระยายมราชคนสุดท้าย: ศึกษาเชิงเปรียบเทียบ ใน หัวไม่เป็นตีน (กรุงเทพ: ศึกษิตสยาม, 2535)
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, "ข้อเสนอของฮัจญีสุหลง และท่านปรีดี พนมยงค์ ต่อการปกครองพิเศษในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้" ใน ประวัติศาสตร์วิพากษ์:สยามไทย กับปาตานี(กรุงเทพฯ: มติชน, 2556)
ถาวร สิกขโกศล. แซ่เซียว (กรุงเทพฯ: ม.ป.พ., 2545)
ซึ่งเล่มล่าสุด คือ เทศกาลจีน และการเซ่นไหว้(กรุงเทพฯ: มติชน, 2557)
ส.ศ.ษ. ไปเมืองจีนคราวแรก พ.ศ.2522 จนเมื่อไปแผ่นดินใหญ่ครั้วที่ 6 จึงได้เขียน ขอดเกร็ดมังกร(กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2537)
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา, เพื่อชาติ เพื่อ Humanity:ภารกิจของวีรบุรุษเสรีไทย จำกัด พลางกูร ในการเจรจากับสัมพันธมิตร(กรุงเทพฯ:สร้างสรรค์, 2549)
Prisoner of the States: The Secret Journal of Premier Zhao Ziyang by Zhao Ziyang(2009)
สำหรับภาษาไทย หาอ่านได้ใน จ้าวจื่อหยาง บันทึกลับจ้าวจื่อหยาง: เบื้องหลังเหตุการณ์นองเลือดเทียนอันเหมิน. แปลโดย สิทธิพล เครือรัติกาล และคณะ(กรุงเทพฯ: มติชน, 2552)
The prince ของ มาคิอาเวลลี ภาษาไทย คือ มาคิอาเวลลี. เจ้าผู้ปกครอง. แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ์(กรุงเทพฯ:คบไฟ, 2551)
อรรถศาสตร์ ของ เกาติลิยะ
เรียนวิชา Literae Humaniores
The Decline and Fall of The Roman Empire
ตำนานการเลิกหวย และอากรบ่อนเบี้ย นิพนธ์โดย กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
Anthony Everitt ได้แต่งประวัติของ Cicero ไว้
Tony Judt เป็นปัญญาชน ที่น่าสนใจผลงาน
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ : ทัศนะว่าด้วยการเมือง และจริยธรรม(กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2545)
Seizing An Alternative:Toward An Ecological Civilization
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์, เศรษฐศาสตร์ของชาวพุทธ(กรุงเทพฯ:มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2517)
จิ๋วแต่แจ๋ว :เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ, พิมพ์ครั้งที่ 4 (กรุงเทพฯ:สมิต , 2557)
William Stevenson" The Revolutionary King: The True-life Sequel to "The King and I"(Robinson Publishing 2001)
กองบรรณาธิการ, "สัมภาษณ์ชาตรี ประกิตนนทการ: ศาลฎีกากับความพยายามทำลายล้างความทรงจำคณะราษฎร ของรัฐไทย" ใน ปาจารยสาร(ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ มีนาคม-พฤษภาคม ๒๕๕๖) หน้า 45-57
อดัม เคิร์ล. การศึกษาเพื่อความเป็นไท. แปลโดย วิศิษฐ์ วังวิญญู (กรุงเทพ:มูลนิธิเด็ก, 2546)
Dialogue Concerning the Two Chief World System(Ptolemic and Copenican) ของ กาลิเลโอ
Bruce Rich. To Uphold The World: The message of Ashoka and Kautilya for the 21th Century(Penguin Books India, 2008)
แปลเป็นไทย ชื่อว่า การธำรงโลกไว้ โดยอาศัยสาระจากพระเจ้าอโศก และเกาติละยะในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑
ส. ศิวรักษ์. ความเข้าใจเรื่องพระเจ้าอโศก และอโศกาวทาน(กรุงเทพฯ:ศูนย์ไทยธิเบต, 2552)
Sulak Sivaraksa. The Wisdom of Sustainbility : Buddhist Economics for the 21th Century. Edited by Arnold Kotler and Nicholas Bennett(Kihei Hawai'l: Kao Books; Chiang Mai, Thailand : Silkworm Books, 2009)
สุรพศ ทวีศักดิ์. ไตรทัศน์วิจารณ์: ความคิดว่าด้วยพุทธศาสนา สถาบัน กษัตริย์ และประชาธิปไตย ของ ส. ศิวรักษ์ (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2557)
ส. ศิวรักษ์, "คนกับงาน: สัมภาษณ์พระยาอุดรธานี" ใน หกปีจากปริทัศน์ (กรุงเทพฯ:ศยาม, 2551)
มีการพูดถึง Carr และ Howard Zin
แนวคิดที่คนไทยอพยพมาจากเทือกเขาอัลไตมาจาก หลวงวิจิตรวาทการ แนวคิดที่ว่าคนไทยอพยพจากเทือกเขานั้นลงมาเรื่อย ๆเพราะไปอ่านหนังสือของ นาย William Clifton Dodd
สี่แผ่นดิน ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
งานเขียนของ James Prinsep
เรื่องของหลักศิลาจารึกต้องตามไปดูงานของ ยอช เซเดส์ (George Coed e`s ) และ William J. Gedney
ประวัติศาสตร์ที่ Oliver Stone กับ Peter Kuznick เขียน ประวัติศาสตร์ อเมริกันซึ่งคนอเมริกันไม่อยากรู้ (The Untold History of the United States)
เตลงพ่าย ของ สมเด็จพระปรมานุชิตฯ
Journal of Siam Society ปี 57
นิบาตชาดก
ปัญญาสชาดก
รามายณะ
มหาภารยตยุทธ มหาภารตะ รวมไปถึง ภควัทคีตา
นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน
นายปรีดี พนมยงค์ ตามทัศนะ ส. ศิวรักษ์
จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน ของ ป๋วย อี๊งภากรณ์
จดหมายจากนายเข้ม เย็นยิ่ง ถึงผู้ใหญ่บ้าน ทำนุ เกียรติก้อง ของ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
ทะไลลามะ และ วิกเตอร์ ชาน, ปัญญาญาณแห่งการอภัย, แปลโดยสายพิณ กุลกนกวรรณ ฮัมดานี(กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา, 2551)
พูดถึง Eric Hobsbawn
E.P. Thompson เขียน The Making of the English Working Class
The Idian Ideology โดย Perry Anderson
http://democracyranking.org/?page_id=738#prettyPhoto
นี่คงเป็นหนังสือที่ได้มาจากหนังสือ "พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ" อาจจะไม่ทั้งหมดเพราะผมก็ข้ามบางเล่มไปบ้าง แต่ก็เป็นเล่มที่ผมมี แล้ว หรืออ่านแล้วบ้าง อย่างไรก็ตามผมคงจะกลับมาหาหน้าปกใส่ให้ข้อความด้านบน แต่เนื่องจากหนังสือที่มากมายก่ายกอง จึงขอ ทำบันทึกคร่าว ๆไว้ก่อน