วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558
[อ่าน] คือเมฆสีขาว ทางก้าวเก่าแก่
ถือเป็นพุทธประวัติที่เปลี่ยนแนวความคิด ของผม ไปมากทีเดียว และมีการสอดแทรกหลักธรรม รวมถึงพุทธวัจนะ บางส่วน อาจจะเป็นเพราะอดีตผมยึดติดกับ พุทธประวัติที่เคยเรียนมา แล้วด้วยอวิชชาของตัวผมเองที่ไปยึดติดกับ อภินิหาร พิสดารต่าง ๆที่ผู้เขียนตั้งใจให้เป็นไปเพื่อความไพเราะ แต่ว่าทำให้ผมก้าวไม่พ้น ไปถึงหลักธรรม ดังนั้น คือเมฆสีขาว ทางก้าวเก่าแก่ ปรับเปลี่ยน แนวทางความคิดของผมไปมากทีเดียว
รายชื่อหนังสือของ อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์
อ่านหนังสืออาจารย์สุลักษณ์แล้ว เริ่มสับสน ว่าควรอ่านเล่มไหนก่อน แล้ว เล่มไหนมาก่อนหลังกัน เลยต้อง พิมพ์ไว้กันลืม จะได้เรียงถูก เหมือนกันเผื่อมีคนถามว่าอ่านเล่มไหนก่อนดี ผม ก็ไม่รู้จะตอบอย่างไร ให้ สรระพสาระ สำหรับผู้แสวงหา ไป กับ ประชาธิปไตยไทยที่เต็มไปด้วยขวากหนามไป
บ่อยครั้งที่ผมคิดว่าควรจะอ่านเล่มเรียงปี ที่อาจารย์ เขียนเนื่องจาก การเปลี่ยนไปของข้อเท็จจริงที่อาจารย์ค้นพบ แต่ ถ้าจะไม่ให้อ่านของใหม่ เลยก้อเกรงว่ากว่าจะอ่านของเก่าจบ ก็อดที่จะติดตามงานของอาจารย์ที่ทันสมัย T_T
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2545
มิถุนายน
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2546
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2553
พฤศจิกายน
บ่อยครั้งที่ผมคิดว่าควรจะอ่านเล่มเรียงปี ที่อาจารย์ เขียนเนื่องจาก การเปลี่ยนไปของข้อเท็จจริงที่อาจารย์ค้นพบ แต่ ถ้าจะไม่ให้อ่านของใหม่ เลยก้อเกรงว่ากว่าจะอ่านของเก่าจบ ก็อดที่จะติดตามงานของอาจารย์ที่ทันสมัย T_T
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2545
มิถุนายน
- ลอกคราบอเมริกัน จาก อัลเลน กินสเบิร์ก ถึง เฮอเบิต มาร์คิส ในทัศนะของ ส.ศิวรักษ์
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2546
- สาระพระพุทธศาสนาของธิเบต (โรเบิร์ต เทอร์แมน แต่ง)
- คันฉ่องส่องตัวตน
- ความเข้าใจในเรื่องสินธูธรรม
- ฉีกจีวร ย้อนดู ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
- อธิบายแนวคิดปรัชญาการเมืองฝรั่ง
- นักปรัชญาการเมืองฝรั่ง
- สู่ชีวิตอันอุดมสุข
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2547
มกราคม
มกราคม
- หันกงจักรเป็นดอกบัว : คำพูด และข้อเขียนที่ ส. ศิวรักษ์ ท้าทายระบบกระแสหลักเมื่ออายุเกินเจ็ดทศวรรษ
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2548
เมษายน
- อ่านคน-ไทย
- อ่านคน-เทศ
- คมวาทะปัญญาชนสยาม
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2553
พฤศจิกายน
- สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล
รายชื่อหนังสือที่อาจารย์เขียนคำนำในปี 2546
- เมนิกี้ ลูกช้างน้อย (แนนซี เกรซ เขียน)
- สู่ชีวิตอันประเสิรฐ : ชีวิตและการสอนที่ไม่ธรรมดาของแม่ทีปะ (เอมี่ ชมิดท์ เขียน)
- บทเริ่มต้นสู่ตันตระ ทรรศนะแห่งความบริบูรณ์ ลามะ เยเช่ เขียน
หนังสือชุดโครงการประมวลงานเขียนของ ส.ศิวรักษ์
ในวาระ ๗ ทศวรรษ - ๖ รอบนักษัตร
- ฉลอง ๒๐๐ ปี พระเจ้ากรุงสยาม
- คมวาทะปัญญาชนสยาม
- อ่านคน - ไทย
- อ่านคน - เทศ
- หนังสือสนุก : สำหรับผู้ที่ต้องการแหวกออกนอกกระแสหลักสังคม
- หกรอบ ส.ศ.ษ.
- สรรพสาระสำหรับผู้แสวงหา
- ศิวพจน์เพื่อศิวโมกข์
- ค่อนศตวรรษประชาธิปไตยไทย : ที่เต็มไปด้วยขวากหนาม
- พุทธศาสนาในเมืองไทย:ที่เต็มไปด้วยขวากหนาม
- ศิวสีหนาท : คำพูด และข้อเขียน เมื่อส.ศิวรักษ์ อายุครบค่อนศตรวรรษ
- เพียรพูดความจริงในวัยสนธยาแห่งชีวิต : คำพูด และข้อเขียน เมื่อ ส.ศิวรักษ์ อายุครบค่อนศตวรรษ
- เสียงจากปัญญาชนสยามวัย ๗๗ : คำพูด และข้อเขียนเมื่อ ส.ศิวรักษ์ อายุเกินค่อนศตรวรรษ
- สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล : คำพูด และข้อเขียน เมื่อบิดา ส.ศิวรักษ์ อายุครบ ๙ รอบนักษัตร
หนังสือเนื่องในวาระอายุครบ ๗๐ - ๗๒ ปี
- Socially Engaged Spirituality
- จิตวิญญาณเพื่อสังคม
- ปัญญาชนสาธารณะแห่งสยาม ปัญญาชนเพื่อประชาชน
- The Asian Future (2 Volumes)
- Conflict Culture Change
- Rediscovering Spiritual Values : Alternative to Consumerism from a Siamese Buddhist Perspective
- The Wisdom of Sustainability : Buddhist Economics for the 21st Century
หนังสือเนื่องในวาระอายุครบค่อนศตวรรษ
- คันฉ่องส่องจริยศาสตร์ : บทพิจารณาว่าด้วยธรรมะ และอธรรรมในสังคมไทย
- ย่ำย่างหนทางไทย ของ ส.ศิวรักษ์ : จากเมื่องกรุงถึงภูธรใน ๔ ทศวรรษที่ผ่านมา
- เตร่เตร็ดเจ็ดย่านน้ำ ของ ส.ศิวรักษ์ : การเยี่ยมยามเพื่อนบ้านในรอบ ๔ ทศวรรษ
- ร้อยรสบทจร ของ ส. ศิวรักษ์ : ว่าด้วยการเดินทางสู่เอเชีย ยุโรป อเมริกา และ อาฟริกา
- คันฉ่องส่องพุทธธรรม
- คันฉ่องส่องปรัชญา
- คันฉ่องส่งสิทธิมนุษยชน และความสมานฉันท์
- สายธารใหม่ของชีวิต เสรีภาพ และวัฒนธรรม ใน ๔ ทศวรรษ
หนังสือภาษาอังกฤษ เรียงตามตัวอักษร
- A Socially Engaged Buddhism
- Global Healing
- Loyalty Demands Dissent
- Modern Thai Monarchy and Cultural Politics
- Santi Pracha Dhamma
- Seeds of Peace
- Socially Engaged Buddhism for the New Millennium
- Trans Thai Buddhism
- When Loyalty Demands Dissent
วันอังคารที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558
[อ่าน] หันกงจักรเป็นดอกบัว
"มารดาถนอมลูกคนเดียว ผู้เกิดในตน ด้วยยอมพร่าชีวิต ได้ฉันใด
พึงเจริญความรักที่มีในใจอย่างไม่มีประมาณ ในสัตว์ทั้งปวง ฉันนั้น"
ผู้ที่ไม่เคยเจริญจิตสิกขา อย่างเข้าไม่ถึงสัมมาสมาธิ จะเข้าใจบทสวดสังวัธยายดังกล่าวนี้ไม่ได้ โดยจิตสิกขาที่ว่ามานี้ นับว่าเป็นการก้าวล่วงความเป็นอัตตา หรือการยึดติดในตัวกูน้อยลง อย่างไปพ้นการแบ่งภาคเป็นสอง ระหว่างเราเขา กูมึง ดีชั่ว
บทเรียนจากชีวิตและผลงานของอาสภเถระ
ปฏิรูปการศึกษาไทย และนานาชาติในรอบ 30 ปี
อันสืบเนื่องมาจาก 14 ตุลาคม 2516
นายดิเรก ชัยนาม ที่คนไทยควรรู้จัก
บทความของ ดวงเดือน ประดับดาว
พึงเจริญความรักที่มีในใจอย่างไม่มีประมาณ ในสัตว์ทั้งปวง ฉันนั้น"
ผู้ที่ไม่เคยเจริญจิตสิกขา อย่างเข้าไม่ถึงสัมมาสมาธิ จะเข้าใจบทสวดสังวัธยายดังกล่าวนี้ไม่ได้ โดยจิตสิกขาที่ว่ามานี้ นับว่าเป็นการก้าวล่วงความเป็นอัตตา หรือการยึดติดในตัวกูน้อยลง อย่างไปพ้นการแบ่งภาคเป็นสอง ระหว่างเราเขา กูมึง ดีชั่ว
สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ใน หันกงจักรเป็นดอกบัว หน้า 76
ประโยคดังกล่าวแม้กับตัวผมแล้ว ก็ไม่สามารถที่จะเข้าใจได้อย่างถูกต้องนัก ผมไม่รู้ว่าการเจริญจิตสิกขา คืออะไร และ ยังไม่สามารถที่จะพบทางที่จะไป ได้ แต่ ประโยคดังกล่าว ก้อมีอิทธิพลต่อความรู้สึกของผมไม่ใช่น้อย
ช่วงหลังๆ นี้ ไม่สามารถที่จะอยู่ติด กับหนังสือเล่มใดเล่มหนึ่งได้เป็นเวลานาน เลย นอกจากหนังสือแนวปรัชญา หรือศาสนา ส่วนหนังสือ ธุรกิจ ถ้าจำนวนหน้า หรือเนื้อหามันเยอะ เกินไป ก็ทนอ่านต่อไปไม่ไหว ศาสนา
ในช่วงที่ผ่านมา ก้อได้มีโอกาส อ่านหนังสือทางแนวศาสนาหลายเล่ม แต่เป็นเล่ม เล็ก ๆแต่เนื้อหา อัดแน่น ของอาจารย์เขมานันทะ(โกวิทย์ อเนกชัย) ซึ่งคือหนังสือชุด "พระธรรมกับชีวิต" มี 6 เล่ม คือ
1.มิติของชีวิต
2.ความหมายของชีวิต
3.เงื่อนไขของชีวิตและสังคม
4.ชีวิตกับความรัก
5.อุปมาแห่งชีวิต
6.ชีวิตกับการเรียนรู้
กลับมาสู่หนังสือ เรื่องหันกงจักรเป็นดอกบัว ผม เลือกอ่านหนังสือเล่มนี้ จากการที่อ่าน "สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล" ของอาจารย์สุลักษณ์ มาก่อน แต่จำไม่ได้ว่า หนังสือสาบเสือนั้น ผม หยิบมาอ่านเพราะเหตุใด
หนังสือประกอบไปด้วยหัวข้อ
- บทเรียนจากชีวิตและผลงานของอาสภเถระ
- สังคมไทยกับทศวรรษแห่งการจากไปของพุทธทาสภิกขุ
- ความตาย และการปฏิบัติต่อผู้ที่กำลังสิ้นใจ
- ความเป็นอนิจจังของอุดมการณ์
- ปฏิรูปการศึกษาไทย และนานาชาติในรอบ 30 ปี
- อันสืบเนื่องมาจาก 14 ตุลาคม 2516
- คำอวยพรของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
- ปาฐกถา โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์
- นายดิเรก ชัยนาม ที่คนไทยควรรู้จัก
- ฮันส์ ฟราดริช
- อนุสติจากหลวงตาแห่งสวีเดน
- เอกสารจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- ผลกระทบจาก APEC
- บทความของ ดวงเดือน ประดับดาว
บทเรียนจากชีวิตและผลงานของอาสภเถระ
- พระภัทรมุนีที่ข้าพเจ้ารู้จัก
- พระผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน
- นายป๋วยผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน
- นายปรีดี พนมยงค์ ตามทัศนะของข้าพเจ้า
- ผจญมาร (สร้างเป็นมังคลานุสารณ์ งานฉลองชนมายุครบ 80 ปี ของ พระคุณ อาสภเถระ)
- ความเข้าใจเรื่องพระรัตนตรัยจากมุมมองของ ส. ศิวรักษ์
- ภัทรนิพนธ์
- คนดีที่น่ารู้จัก
- ที่สุดแห่งสังคมสยาม
สังคมไทยกับทศวรรษแห่งการจากไปของพุทธทาสภิกขุ
- คู่มือมนุษย์
ความตาย และการปฏิบัติต่อผู้ที่กำลังสิ้นใจ
- ไตรภูมิพระร่วง หรือ เตภูมิกถา
- เตรียมตัวตายอย่างมีสติ
- พิธีกรรมสำหรับพุทธศาสนิกร่วมสมัย
- แพทย์:เทพเจ้ากาลี (Medical Nemesis)
- เมื่อฉันรู้ว่าฉันเป็นมะเร็ง ของ สุภาพร พงษ์พฤกษ์
- ปัจจุบันเป็นเวลาอันประเสริฐสุด
ความเป็นอนิจจังของอุดมการณ์
- อธิบายแรวคิดปรัชญาการเมืองฝรั่ง
- Zen at war
- Peace is Every Step (สันติภาพทุกย่างก้าว)
"cogito ergo sum" Rene Descartes
- The People's history of the United States, Howard Zinn
- A Buddhist History of The West: Studies in Lack(2002) , David R. Loy
- The Great Awakening: A Buddhist Social Theory(2003) , David R. Loy
- Small is Beautiful , E.F. Schumacher**
- The Origin of Species(1859) Charles Darwin
- The Descent of Man(1871) Charles Darwin
- Perceiving Ordinary Magic , Jeremy W. Hayward
- The Sacred Life, Jeremy W. Hayward
- Letter to Vanessa, Jeremy W. Hayward
- Socially Engaged Spirituality edited by David W. Chappell
- พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์
- หนังสือที่สถาบัน นาโรปะผลิตออกมาที่น่าสนใจ
- Gentle Bridges: Conversation with the Dalai Lama on the Sciences of Mind edited by Jeremy Hayward & Francisco Varela (Shamble, Boston) 1992
- Consciousness at the Crossroads: Conversations with the Dalai Lama on Brain Science and Buddhism(Snow Lion, Ithaca) 1999
- Healing Emotions: Conversation with the Dalai Lama on Mindfulness, Emotions and Health edited by Danial Golesman (Shamble, Boston) 1997.
- Sleeping, Dreaming and Dying: An Exploration of Consciousness with the Dalai Lama edited by Francisco J. Verela (Wisdom, Boston) 1997
- Visions of Compassion: Western Scientists and Tibetan Buddhists Examine Human Nature edited by R.J. Davidson and A. Harrington (OUP, Oxford) 2002.
- The Quantum and the Lotus: Journey to the Frontiers Where Science and Buddhism Meet by Matthieu Richard and Frinh Xuan Thuan (Crown, New York) 2001
- ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มาจาก God King and Country ของ อังกฤษ
ปาฐกถา โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์
- คันฉ่องส่องเจ้า
- ประวัติต้นรัชกาลที่ 6 โดย ต้น วชิราวุธ
บทความของ ดวงเดือน ประดับดาว
- ช่วงหลังของชีวิต, ส. ศิวรักษ์
- ลอกคราบสังคมไทย
[อ่าน] ปัจจุบันเป็นเวลาอันประเสริฐที่สุด
"เล่มนี้ดีที่สุด อ่านทีละบท และปฏิบัติตามนั้น ก็พอแล้ว "
ท่านอาจารย์ พุทธทาส พูดกับพระที่ดูแลท่านก่อนท่านจะพูดไม่ได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)