วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

[อ่าน] Talk like TED

ผู้เขียน คือ Carmine Gallo ผม พึ่งเคยได้ยิน ชื่อแต่ เห็นรายชื่อหนังสือที่พี่แกเขียนแต่ละเล่ม นี่น่าสนใจทั้งนั้นเลยครับ ไม่ว่าจะเป็น


  • The apple experience:Secret to Building Insanely Great Customer Loyalty
  • The Power of foursquare: 7 Innovative Ways to get Customers to Check in Whenever They Are
  • The Innovation Secrets of Steve Jobs: Insanely Different Principles for Breakthrough Success
  • The Presentation Secrets of Steve Jobs:How to Be Insanely Great in Front of Any Audience
  • Fire Them Up!: 7 Simple Secrets to :Inspire Colleagues, Customers, and Clients; Sell Yourself, Your Vision, and Your Values, Communicate with Charisma and Confidence
  • 10 Simple Secrets of the world's Greatest Communication

เห็นแล้ว เล่มที่อยากอ่าน ต่อ คือ Fire Them Up กับ The  presentation secret ของ Steve Jobs  แต่หนังสือที่ซื้อ ๆมา นี่ก็มีอยู่พอสมควรเลย อ่านไม่ทันเลย 


    Talk Like TED แบ่งเนื้อหาเป็น 3 หมวด ใหญ่ ๆคือ
1. Emotional      2. Novel      3. Memorable

  


  ขอเริ่มที่การที่หนังสือได้พูดถึง clip TED

ซึ่งจากตรงนี้ก็ได้พูดถึง 

   เริ่มไปไกลกันแล้วขอกลับ มาที่ Talk like TED ต่อก่อนนะครับ ผมเริ่มไปสนใจเรื่อง Big history project เลย เพราะว่า เคยมีเพื่อนพูดถึงเรื่อง timetoast นอกจากนี้ ช่วงก่อน ยังได้ดู clip ของการที่ มีคนสงสัยว่าฝั่งตรงข้ามของ พีรามิด GIZA มีอะไร จึงทำการศึกษาโดยการใช้ Google Earth ค้นหา ตาม link นะครับ เริ่มไปกันไกล  http://www.abovetopsecret.com/forum/thread978475/pg1


   
อาจจะต้อง post clip TED ไว้แทนแล้วแหละ ค่อย ๆไปกันนะ



พูดถึงหนังสือ  "Mastery" ของ Robert Greene ผม เคยเห็นหนังสือ "The 48 Laws of Power" ครั้งแรกตอนอ่านหนังสือของ ไอซ์ ธีรศานต์ 


Howard Schults, "Coffee is the product but Starbuck is in the Business of customer service"

Tony Hsieh "Zappos, isn't passionate about shoes. but Delivering happiness"

Matthieu Ricard is the happiest man in the world http://www.matthieuricard.org/en/







  • Dr Jill




My stroke of Insight  Jill Bolte Taylor



  • งานวิจัย ปี 2012 ใน Journal of Business Venturing ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่าง passion กับการตัดสินใจของนักลงทุน 
http://digitalknowledge.babson.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1875&context=fer  น่าจะแนว ๆอันนี้ แต่ว่าเดี๋ยว ค่อย มา ค้นหาต่อ

  • Why 15-20 minutes is the ideal length time to make a business pitch

  • Bryan Stevenson

  • Bestselling author Dan Arielle
  • Joel Osteen

Sir Ken Robinson กับ Gillian Lyne ต้อง บอกก่อนเลยว่า ผม ชอบ TED Talk ของ Sir Ken Robinson มาก เพราะว่า แกมีเทคนิคการพูด ที่ เจ๋งมากจริง ๆ จนผมต้องไล่ ฟัง youtube ของแก ตอนนี้ มีหนังสือ The element ของแกที่ผม ยังหาไม่ได้ คุณ รวิศ เองก็เคย post หนังสือเล่มนี้ลงหน้า wall ตอนนั้น post เล่มนี้ไล่เลี่ยกับ อีกเล่มที่ชื่อ Insight Out ของ tina seelig คนเขียน What I wish I knew when I was 20


  • Brent Brown delivered the talk "The Power of Vulnerability"

  • Malcolm Gladwell, "Choice, Happiness and Spaghetti sauce"

 


  • Lisa Kristine



  • Colin Powell


เขียน It Worked for me


  • Ernesto Sirolli
หนังสือ Ripples from the Zambezi

แนะนำหนังสือ  "Dead AID" ของ Dambisa Moyo   Zambian woman economist


Jennifer Granholm


  • Amy Cuddy


  • Janine Shepherd

NOVEL

  • Robert Ballard



  • James Cameron

  • Peter gabriel 

  • Han Rosling
  • Susan Caine
ผู้เขียนหนังสือเรื่อง Quiet
  • Seth Godin "the purple cow"

  • Mary Roach

  • Helen Fisher

  • Diane Kelly


  • Jenny McCarthy

  • Amy Lockwood

  • James Flynn






















SECRETS

#1  Unleash the master within
#2  Master the art of storytelling
     3 Simples, Effective types of stories

  1. Personal stories
  2. Other person who have learned a lessons the audience can relate to
  3. Stories involving the success or failure of products or brands










[อ่าน] โลกต้องเห็น

     ไม่ผิดหวัง หลังจากที่เคยได้อ่านหนังสือเล่มแรกของเซ่ ที่ชื่อ "เด็กนอกคอก" มาแล้ว เล่มล่าสุดอย่าง "โลกต้องเห็น" เหมือนเป็นการปลุกไฟ อีกครั้ง ทำให้เราเห็นว่า เซ่เอง ผ่านสงครามทางความคิดของตนเองมาเยอะ แต่ไม่เคยยอมแพ้ หลาย หัวข้อ ที่อ่านแล้ว รู้สึกว่าเราเองก็เป็น แต่ เรายอมแพ้ เราไม่สู้   เหมือนเซ่ เราเลยยังไม่ นอกคอก พอ
     อ่านจบ ก็มีไฟ ลุกขึ้นมาทำ สิ่งที่ชอบต่อไป ฝึกสร้างคุณค่า แล้ว นำเสนอตัวเองให้เป็น ต้องไม่ท้อ ^^

ในเล่มนั้นก็พูดถึง หลักสูตรของ เขียนไม่กี่คำ น่าสนใจมาก

หลังจาก อ่านเซ่จบแล้ว เลยหยิบ Talk Like TED มาอ่าน ทำไมหนังสือ ฝรั่ง ไม่เคยมีเล่มไหนสั้น ๆบ้างเลย T_T

แปะ ๆ http://ugogattoni.fr  เป็น website ของเพื่อนคุณเซ่ ที่กล่าวไว้ในหนังสือ ว่าด้วยประวัติของแก ใครอยากรู้อาจจะต้อง ลอง หาหนังสือของคุณเซ่ มาอ่านนะครับ แต่เค้าคนนี้ตอนนี้ ทำงานให้ บริษัทดังๆ ทั้งนั้น รวมไปถึง Hermes

วันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2558

[อ่าน] พ่ออังคาร ผู้มาจากดาวโลก

  " จะไม่ไปแม้แต่พระนิรพาน
จะวนว่ายวัฏสังสารหลากหลาย
แปลค่าแท้ดาราจักรมากมาย
ไว้เป็นบทกวีแด่จักรวาร

เพื่อลบทุกข์โศก ณ โลกมนุษย์
ที่สุดสู่ยุคสุขเกษมศานต์
วานนั้นฉันจะป่นปนดินดาน
เป็นฟอสซิลทรมานอยู่จ้องมอง

ให้ซึ้งซาบกาพย์กลอน โคลงฉันท์
ไปทุกชั้นอินทรพรหมพิมานสถาน
สร้างสรรค์กุศลศิลป์ไว้อนันตกาล
นานช้าอมตะอกาลิโก"

ส่วนหนึ่งจาก ปณิธานกวี ของ ท่านอังคาร กัลยาณพงศ์ 


    ส่วนตัวแล้วเคยได้ยิน ชื่อ ท่านอังคาร กัลยาณพงศ์ มานานแล้ว แต่ไม่มีความกระตือรือร้น ที่จะไปหา ประวัติของ ท่านอังคาร เลย พอได้อ่านหนังสือเล่มนี้ ทำให้รับทราบงาน อื่น ๆของท่านอังคารอีกมากทีเดียว อาจจะพอเรียกได้ว่าเป็นหนังสือสรุป ประวัติของ ท่านอังคาร ในมุมมองของ ลูกสาว (คุณอ้อมแก้ว) ที่กระทัดรัดมาก ตั้งแต่ จำความได้ จนถึงช่วงสุดท้าย ของคุณอ้อมแก้ว กับ ท่านอังคาร ...

วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558

[อ่าน] อ่านคน-เทศ

"สำหรับคำว่า คนหนุ่ม...มิได้หมายถึงเอาวัยวุฒิเป็นเกณฑ์ บุคคลบางคนที่ยังคงอยู่ในปฐมวัย หรือมัชฌิมวัย หากหวังเพียง ความเจริญในวัตถุ ในทางลาภยศ และอำนาจ โดยไม่คำนึงถึง สังคม วิชาความรู้ หรือความงาม... เขาเหล่านี้ก็เท่ากับว่าเป็นคนที่ตายไปแล้ว หรืออยู่เพียงเพื่อรอความตาย... เขาเป็นคนที่รกโลก...
      บุคคลบางคน ที่แม้จะล่วงปัจฉิมวัยแล้ว หากยังคงความคิดความอ่านอยู่ ยังขบคิดแก้ปัญหา ยังมองไปทางอนาคต ยังนึกถึงส่วนรวม ยังหาความเพลิดเพลินเจริญใจกับสิ่งที่เป็นของสูงส่งในทางนามธรรม เราย่อมถือได้ว่าท่านเหล่านี้แก่แต่ร่าง ส่วนปัญญา ยังคงหนุ่ม "

สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๐๗



เนื้อหาประกอบไปด้วย 
อ่านพระและผู้นำทางศาสนา
  • ทะไลลามะ
  • การมาปะที่ 17
  • พระถังซำจั๋ง
  • ติช นัท ฮันห์
  • พระเรวัตตธัมมะ มหาเถระ
  • พระปัญญาวัฑโฒ
  • แม่ชีวาปี
  • สีตารา แมรี่ บรัทเนล
  • เจเกียม ตรุงปา
  • ภราดาเซนต์คาเบรียล
  • ฟิลิป กาโปล
  • มาละละเสเกร่า
  • เควเก้อบางคน

อ่านชนชั้นสูง
  • พระมารดาทะไลลามะ
  • พระพันปีหลวงของอังกฤษ
  • พระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘
  • พระนางเอลิซะเบธ
  • เจ้านางร่มขาว
  • เจ้าช้าง ณ ยางห้วย

อ่านรัฐบุรุษ
  • ทอมัส โมร์
  • แกลดสโตน
  • เชอชิล
  • ชิเชโร

อ่านนักคิด นักเขียน
  • ลอร์ดแอกตัน
  • เคน โซโร วีว่า
  • นิรัท เชาธุรี
  • เบียตริช เวบบ์
  • ยอช เคนนัน
  • เซอร์ยอช สก๊อต
  • ยอช ออแวล
  • เวอยิเนีย วูล์ฟ
  • สตีเฟน สเปนเดอร์
  • อัลดัส ฮักซเล่ย์
  • อานันทะกุมาร สวามี
  • เอคบัล อาหมัด
  • เอดวาด คอนเช่
  • เอดเวิด ซาอิด
  • ไอไซอะ เบอลิน
  • อรุณธตี รอย
  • ออสการ์ ไวลด์
  • เฮนรี่ เฟาเลอร์
  • อลัน กินสเบิร์ก

อ่านมิตร-สหาย
  • กุสดุร
  • เกลน เพช
  • จูเลีย ชิง
  • หมอซัง เกี้ยว หยู
  • ติชิอาโน เตอซานี่
  • ดอน สแวเร่อ
  • บ้อบ บอบิลิน
  • บิล เกตนีย์
  • บิล คลอสเนอร์
  • ยาขอบ ฟอน อุกซคัล
  • ยูจีน ลาง
  • ว. อานันท์
  • วิล ออกซโตบี้
  • วอลเดน เบลโล
  • โอลิเว่อ วอลเตอร์
  • มกตา ลูบิส
  • จอห์น เลน

ภาคผนวก
  • พุทธศาสนิกร่วมสมัยของญี่ปุ่น
  • เกอิชา
  • หยกในเมืองจีน
  • จักรพรรดิคอนสแตนติน
  • สุนทรพจน์ในงานเปิดหอสมุดมหาสีลา วีรวงส์





ทะไลลามะ

  • The Gentle Bridge
  • ห้วงลึกแห่งจิต ในทัศนะพุทธศาสน์ และวิทยาศาสตร์
  • เตรียมตัวตายอย่างมีสติ
  • Dialogues on University and Education
  • World in Harmony:Dialogues on Compassionate Action
  • The Art of Happiness: A Handbook for living
  • Culvitating A Daily Meditation
  • Awakening The Mind, Lightening The Heart
  • The Joy of Living and Dying in Peace
  • Ancient Wisdom, Modern World: Ethic for A New Millennium
การมาปะที่ 17

  • แผ่นดิน และประชากรของข้าพเจ้า
  • มรรควิธีแห่งการฝึกตน
  • ทะไลลามะแห่งธิเบต
  • Music in the sky: The life, Art and Teaching of the 17th Karma Oy yor Tir Ley Durjet
  • สาระพระพุทธศาสนาของธิเบต ของ โรเบิร์ต เทอร์แมน
พระถังซำจั๋ง

  • พระถังซำจั๋ง ที่นายเคงเหลียน สีบุญเรืองแปล
  • The Monkey ที่ อาเธอร์ วาเลน์ แปลจาก ไซอิ๋ว ภาษาจีนฉบับย่อ
  • The Real Tripitaka
  • พระตรีปิฎก
  • Transformation at the base: Fifty verses on the Nature of Consciousness
  • สู่ชีวิตอันอุดม
  • Hsuan Tsang: In the footsteps of the Buddha(1971) ของ Arthur Waley, Rene Grousset
  • Ultimate Journey ของ Richard Bernstein
ติช นัท ฮันห์

  • ปาฏิหารย์แห่งการตื่นอยู่เสมอ
  • ปลูกรัก
  • ดวงตะวันในดวงใจฉัน
  • เพชรตัดทำลายมายา
  • ไผ่พระจันทร์
  • สันติภาพทุกย่างก้าว
  • เดินวิถีแห่งสติ
  • ปัจจุบันเป็นเวลาประเสริฐที่สุด
  • The miracle of mindfulness
  • Fragrant Palm Leaves : Journal 1962-1966

พระปัญญาวัฑโฒ

  • Buddhism by Christmas Humphreys
  • Forest Dhamma 
แม่ชีวาปี

  • Dipa ma (สู่ชีวิตอันประเสริฐ)
  • The Journey of One Buddhist Nun : Even Against the Wind by Sid Brown
เจเกียม ตรุงปา

  • Born in Tibet

ฟิลิป กาโปล

  • The Three Pillars of Zen
  • Zen Keys ติช นัท ฮันห์
  • Eloquent Zen:Daito 
  • Early Japanese Zen
  • Inner Peace, World Peace: Essays on Buddhism and Non violence
มาละละเสเกร่า

  • มหาสาวิกาสมัยพุทธกาล
เควเก้อบางคน

  • The Essays of A.J. Must

อ่านชนชั้นสูง

พระมารดาทะไลลามะ

  • Dalai Lama, My son: A Mother's Story
  • เตรียมตัวตายอย่างมีสติ
  • ของดีจากธิเบต
  • แผ่นดินและประชากรของข้าพเจ้า

พระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘

  • The six wives of Henry VIII
  • The Private Life of Henry VIII
  • Henry VIII : King and Court , Allison weir
พระนางเอลิซะเบธ

  • Elizabeth and Mary:Cousins, Rivals and Queens by Jane Dunn 
เจ้านางร่มขาว

  • The White Umbrella by Patricia Elliot
  • Twighlight over Burma by Sargent Inge
  • คนนอกคุก
อ่านรัฐบุรุษ
ทอมัส โมร์

  • A man for all seasons
  • A Siamese for All Seasons
  • Utopia, thomas more
แกลดสโตน

  • Gladstone by Roy Jenkins
เชอชิล

  • The Second World Wars (6 เล่มจบ)
  • A History of The English Speaking Peoples( 4 เล่มจบ)
  • My Early life , Winston churchill
  • Churchill by Roy Jenkins
  • Lord Randolph Churchill
  • Marlborough : His Life and Times
ชิเชโร

  • Cicero : The Life and Times of Rome's Greatest Politician, Anthony Everett

อ่านนักคิด นักเขียน
ลอร์ดแอกตัน

  • Lord Acton, Roland Hill
เคน โซโร วีว่า

  • In The Shadow of a Saint: A Son's Journey to Understand His Father's Legacy by Ken Wiwa
นิรัท เชาธุรี

  • The Autobiography of An Unknown Indian
  • ราชา รามโมหุน รอย
  • รพินทรนาถ ฐากูร
  • อโศกาวทาน
  • Thy Hand, Great Anarch
  • ช่วงแรกแห่งชีวิต
  • ช่วงหลังแห่งชีวิต
  • The Intellectual in India
  • To Live, Not to Live
  • The Continent of Circs
เบียตริช เวบบ์

  • History of Trade Unionism
  • Industrial Democracy
  • Beatrice Webb : A Life by Carole Seymour-Jones
  • The New Machiavelli ; by H.G Wells
ยอช เคนนัน
  • สุชาติโมโก
  • Nonkilling Global Political Science
เซอร์ยอช สก๊อต


  • Gazetteer of Upper Burma and the Shan States
  • The Burman: HIs Life and Notions
  • The Shan States and the British Administration by Sao Saimong Mangrai
  • เที่ยวเมืองพม่า, สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
  • The Trouser People by Andrew Marshall
  • Siamese White; Maurice Collis

ยอช ออแวล


  • Burmese Days
  • Down and Out in Paris and London
  • Homage to Catalonia
  • The Road to Wigan Pier
  • Animal Farm
  • 1984
  • ชีวิตครูสาว

เวอยิเนีย วูล์ฟ


  • คันฉ่องส่องตัวตน


สตีเฟน สเปนเดอร์
อัลดัส ฮักซเล่ย์
อานันทะกุมาร สวามี
เอคบัล อาหมัด
เอดวาด คอนเช่
เอดเวิด ซาอิด
ไอไซอะ เบอลิน
อรุณธตี รอย
ออสการ์ ไวลด์
เฮนรี่ เฟาเลอร์
อลัน กินสเบิร์ก

อ่านมิตร-สหาย
  • กุสดุร
  • เกลน เพช
  • จูเลีย ชิง
  • หมอซัง เกี้ยว หยู
  • ติชิอาโน เตอซานี่
  • ดอน สแวเร่อ
  • บ้อบ บอบิลิน
  • บิล เกตนีย์
  • บิล คลอสเนอร์
  • ยาขอบ ฟอน อุกซคัล
  • ยูจีน ลาง
  • ว. อานันท์
  • วิล ออกซโตบี้
  • วอลเดน เบลโล
  • โอลิเว่อ วอลเตอร์
  • มกตา ลูบิส
  • จอห์น เลน

ภาคผนวก
  • พุทธศาสนิกร่วมสมัยของญี่ปุ่น
  • เกอิชา
  • หยกในเมืองจีน
  • จักรพรรดิคอนสแตนติน
  • สุนทรพจน์ในงานเปิดหอสมุดมหาสีลา วีรวงส์

วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558

[อ่าน] คือเมฆสีขาว ทางก้าวเก่าแก่

     ถือเป็นพุทธประวัติที่เปลี่ยนแนวความคิด ของผม ไปมากทีเดียว และมีการสอดแทรกหลักธรรม รวมถึงพุทธวัจนะ บางส่วน อาจจะเป็นเพราะอดีตผมยึดติดกับ พุทธประวัติที่เคยเรียนมา แล้วด้วยอวิชชาของตัวผมเองที่ไปยึดติดกับ อภินิหาร พิสดารต่าง ๆที่ผู้เขียนตั้งใจให้เป็นไปเพื่อความไพเราะ แต่ว่าทำให้ผมก้าวไม่พ้น ไปถึงหลักธรรม  ดังนั้น คือเมฆสีขาว ทางก้าวเก่าแก่ ปรับเปลี่ยน แนวทางความคิดของผมไปมากทีเดียว

รายชื่อหนังสือของ อาจารย์​สุลักษณ์ ศิวรักษ์

อ่านหนังสืออาจารย์สุลักษณ์แล้ว เริ่มสับสน ว่าควรอ่านเล่มไหนก่อน แล้ว เล่มไหนมาก่อนหลังกัน เลยต้อง พิมพ์ไว้กันลืม จะได้เรียงถูก เหมือนกันเผื่อมีคนถามว่าอ่านเล่มไหนก่อนดี ผม ก็ไม่รู้จะตอบอย่างไร ให้ สรระพสาระ สำหรับผู้แสวงหา ไป กับ ประชาธิปไตยไทยที่เต็มไปด้วยขวากหนามไป
     บ่อยครั้งที่ผมคิดว่าควรจะอ่านเล่มเรียงปี ที่อาจารย์ เขียนเนื่องจาก การเปลี่ยนไปของข้อเท็จจริงที่อาจารย์ค้นพบ  แต่ ถ้าจะไม่ให้อ่านของใหม่ เลยก้อเกรงว่ากว่าจะอ่านของเก่าจบ ก็อดที่จะติดตามงานของอาจารย์ที่ทันสมัย T_T


หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2545

มิถุนายน

  • ลอกคราบอเมริกัน จาก อัลเลน กินสเบิร์ก ถึง เฮอเบิต มาร์คิส ในทัศนะของ ส.ศิวรักษ์


หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2546

  • สาระพระพุทธศาสนาของธิเบต (โรเบิร์ต เทอร์แมน แต่ง)
  • คันฉ่องส่องตัวตน
  • ความเข้าใจในเรื่องสินธูธรรม
  • ฉีกจีวร ย้อนดู ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
  • อธิบายแนวคิดปรัชญาการเมืองฝรั่ง
  • นักปรัชญาการเมืองฝรั่ง
  • สู่ชีวิตอันอุดมสุข
หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2547

มกราคม

หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2548

เมษายน
  • อ่านคน-ไทย
  • อ่านคน-เทศ
  • คมวาทะปัญญาชนสยาม

หนังสือของอาจารย์ที่ตีพิมพ์ในปี 2553

พฤศจิกายน

  • สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล
รายชื่อหนังสือที่อาจารย์เขียนคำนำในปี 2546

  • เมนิกี้ ลูกช้างน้อย (แนนซี เกรซ เขียน)
  • สู่ชีวิตอันประเสิรฐ : ชีวิตและการสอนที่ไม่ธรรมดาของแม่ทีปะ (เอมี่ ชมิดท์ เขียน)
  • บทเริ่มต้นสู่ตันตระ ทรรศนะแห่งความบริบูรณ์ ลามะ เยเช่ เขียน


หนังสือชุดโครงการประมวลงานเขียนของ ส.ศิวรักษ์ 
ในวาระ ๗ ทศวรรษ - ๖ รอบนักษัตร
  • ฉลอง ๒๐๐ ปี พระเจ้ากรุงสยาม
  • คมวาทะปัญญาชนสยาม
  • อ่านคน - ไทย
  • อ่านคน - เทศ
  • หนังสือสนุก : สำหรับผู้ที่ต้องการแหวกออกนอกกระแสหลักสังคม
  • หกรอบ ส.ศ.ษ.
  • สรรพสาระสำหรับผู้แสวงหา
  • ศิวพจน์เพื่อศิวโมกข์
  • ค่อนศตวรรษประชาธิปไตยไทย : ที่เต็มไปด้วยขวากหนาม
  • พุทธศาสนาในเมืองไทย:ที่เต็มไปด้วยขวากหนาม
  • ศิวสีหนาท : คำพูด และข้อเขียน เมื่อส.ศิวรักษ์ อายุครบค่อนศตรวรรษ
  • เพียรพูดความจริงในวัยสนธยาแห่งชีวิต : คำพูด และข้อเขียน เมื่อ ส.ศิวรักษ์ อายุครบค่อนศตวรรษ
  • เสียงจากปัญญาชนสยามวัย ๗๗ : คำพูด และข้อเขียนเมื่อ ส.ศิวรักษ์ อายุเกินค่อนศตรวรรษ
  • สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล : คำพูด และข้อเขียน เมื่อบิดา ส.ศิวรักษ์ อายุครบ ๙ รอบนักษัตร

หนังสือเนื่องในวาระอายุครบ ๗๐ - ๗๒ ปี

  • Socially Engaged Spirituality
  • จิตวิญญาณเพื่อสังคม
  • ปัญญาชนสาธารณะแห่งสยาม ปัญญาชนเพื่อประชาชน
  • The Asian Future (2 Volumes)
  • Conflict Culture Change
  • Rediscovering Spiritual Values : Alternative to Consumerism from a Siamese Buddhist Perspective
  • The Wisdom of Sustainability : Buddhist Economics for the 21st Century

หนังสือเนื่องในวาระอายุครบค่อนศตวรรษ

  • คันฉ่องส่องจริยศาสตร์ : บทพิจารณาว่าด้วยธรรมะ และอธรรรมในสังคมไทย
  • ย่ำย่างหนทางไทย ของ ส.ศิวรักษ์ : จากเมื่องกรุงถึงภูธรใน ๔ ทศวรรษที่ผ่านมา
  • เตร่เตร็ดเจ็ดย่านน้ำ ของ ส.ศิวรักษ์ : การเยี่ยมยามเพื่อนบ้านในรอบ ๔ ทศวรรษ
  • ร้อยรสบทจร ของ ส. ศิวรักษ์ : ว่าด้วยการเดินทางสู่เอเชีย ยุโรป อเมริกา และ อาฟริกา
  • คันฉ่องส่องพุทธธรรม
  • คันฉ่องส่องปรัชญา
  • คันฉ่องส่งสิทธิมนุษยชน และความสมานฉันท์
  • สายธารใหม่ของชีวิต เสรีภาพ และวัฒนธรรม ใน ๔ ทศวรรษ

หนังสือภาษาอังกฤษ เรียงตามตัวอักษร

  • A Socially Engaged Buddhism
  • Global Healing
  • Loyalty Demands Dissent
  • Modern Thai Monarchy and Cultural Politics
  • Santi Pracha Dhamma
  • Seeds of Peace
  • Socially Engaged Buddhism for the New Millennium
  • Trans Thai Buddhism
  • When Loyalty Demands Dissent





วันอังคารที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558

[อ่าน] หันกงจักรเป็นดอกบัว

"มารดาถนอมลูกคนเดียว ผู้เกิดในตน ด้วยยอมพร่าชีวิต ได้ฉันใด
                                            พึงเจริญความรักที่มีในใจอย่างไม่มีประมาณ ในสัตว์ทั้งปวง ฉันนั้น"

ผู้ที่ไม่เคยเจริญจิตสิกขา อย่างเข้าไม่ถึงสัมมาสมาธิ จะเข้าใจบทสวดสังวัธยายดังกล่าวนี้ไม่ได้  โดยจิตสิกขาที่ว่ามานี้ นับว่าเป็นการก้าวล่วงความเป็นอัตตา หรือการยึดติดในตัวกูน้อยลง อย่างไปพ้นการแบ่งภาคเป็นสอง ระหว่างเราเขา กูมึง ดีชั่ว

                                                                 สุลักษณ์​ ศิวรักษ์  ใน หันกงจักรเป็นดอกบัว  หน้า 76

     ประโยคดังกล่าวแม้กับตัวผมแล้ว ก็ไม่สามารถที่จะเข้าใจได้อย่างถูกต้องนัก ผมไม่รู้ว่าการเจริญจิตสิกขา  คืออะไร และ ยังไม่สามารถที่จะพบทางที่จะไป ได้ แต่ ประโยคดังกล่าว ก้อมีอิทธิพลต่อความรู้สึกของผมไม่ใช่น้อย 


     ช่วงหลังๆ นี้ ไม่สามารถที่จะอยู่ติด กับหนังสือเล่มใดเล่มหนึ่งได้เป็นเวลานาน เลย นอกจากหนังสือแนวปรัชญา หรือศาสนา ส่วนหนังสือ ธุรกิจ ถ้าจำนวนหน้า หรือเนื้อหามันเยอะ เกินไป ก็ทนอ่านต่อไปไม่ไหว ศาสนา 

    ในช่วงที่ผ่านมา ก้อได้มีโอกาส อ่านหนังสือทางแนวศาสนาหลายเล่ม แต่เป็นเล่ม เล็ก ๆแต่เนื้อหา อัดแน่น ของอาจารย์​เขมานันทะ(โกวิทย์ อเนกชัย) ซึ่งคือหนังสือชุด "พระธรรมกับชีวิต" มี 6 เล่ม คือ
1.มิติของชีวิต 
2.ความหมายของชีวิต 
3.เงื่อนไขของชีวิตและสังคม 
4.ชีวิตกับความรัก 
5.อุปมาแห่งชีวิต 
6.ชีวิตกับการเรียนรู้


     กลับมาสู่หนังสือ เรื่องหันกงจักรเป็นดอกบัว ผม เลือกอ่านหนังสือเล่มนี้ จากการที่อ่าน "สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล" ของอาจารย์สุลักษณ์ มาก่อน แต่จำไม่ได้ว่า หนังสือสาบเสือนั้น ผม หยิบมาอ่านเพราะเหตุใด

หนังสือประกอบไปด้วยหัวข้อ
  • บทเรียนจากชีวิตและผลงานของอาสภเถระ
  • สังคมไทยกับทศวรรษแห่งการจากไปของพุทธทาสภิกขุ
  • ความตาย และการปฏิบัติต่อผู้ที่กำลังสิ้นใจ
  • ความเป็นอนิจจังของอุดมการณ์
  • ปฏิรูปการศึกษาไทย และนานาชาติในรอบ 30 ปี
  • อันสืบเนื่องมาจาก 14 ตุลาคม 2516
  • คำอวยพรของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
  • ปาฐกถา โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์
  • นายดิเรก ชัยนาม ที่คนไทยควรรู้จัก
  • ฮันส์ ฟราดริช
  • อนุสติจากหลวงตาแห่งสวีเดน
  • เอกสารจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
  • ผลกระทบจาก APEC
  • บทความของ ดวงเดือน ประดับดาว


บทเรียนจากชีวิตและผลงานของอาสภเถระ

  • พระภัทรมุนีที่ข้าพเจ้ารู้จัก
  • พระผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน
  • นายป๋วยผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน
  • นายปรีดี พนมยงค์ ตามทัศนะของข้าพเจ้า
  • ผจญมาร (สร้างเป็นมังคลานุสารณ์ งานฉลองชนมายุครบ 80 ปี ของ พระคุณ อาสภเถระ)
  • ความเข้าใจเรื่องพระรัตนตรัยจากมุมมองของ ส. ศิวรักษ์
  • ภัทรนิพนธ์
  • คนดีที่น่ารู้จัก
  • ที่สุดแห่งสังคมสยาม

สังคมไทยกับทศวรรษแห่งการจากไปของพุทธทาสภิกขุ
  • คู่มือมนุษย์

ความตาย และการปฏิบัติต่อผู้ที่กำลังสิ้นใจ

  • ไตรภูมิพระร่วง หรือ เตภูมิกถา
  • เตรียมตัวตายอย่างมีสติ
  • พิธีกรรมสำหรับพุทธศาสนิกร่วมสมัย
  • แพทย์:เทพเจ้ากาลี (Medical Nemesis)
  • เมื่อฉันรู้ว่าฉันเป็นมะเร็ง ของ สุภาพร พงษ์พฤกษ์
  • ปัจจุบันเป็นเวลาอันประเสริฐสุด

ความเป็นอนิจจังของอุดมการณ์

  • อธิบายแรวคิดปรัชญาการเมืองฝรั่ง
  • Zen at war
  • Peace is Every Step (สันติภาพทุกย่างก้าว)

ปฏิรูปการศึกษาไทย และนานาชาติในรอบ 30 ปี

"cogito ergo sum" Rene Descartes
  • The People's history of the United States, Howard Zinn
  • A Buddhist History of The West: Studies in Lack(2002) , David R. Loy
  • The Great Awakening: A Buddhist Social Theory(2003) , David R. Loy
  • Small is Beautiful , E.F. Schumacher**
  • The Origin of Species(1859) Charles Darwin
  • The Descent of Man(1871) Charles Darwin
  • Perceiving Ordinary Magic , Jeremy W. Hayward
  • The Sacred Life, Jeremy W. Hayward
  • Letter to Vanessa, Jeremy W. Hayward
  • Socially Engaged Spirituality edited by David W. Chappell
  • พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์
  • หนังสือที่สถาบัน นาโรปะผลิตออกมาที่น่าสนใจ
    • Gentle Bridges: Conversation with the Dalai Lama on the Sciences of Mind edited by Jeremy Hayward & Francisco Varela (Shamble, Boston) 1992
    • Consciousness at the Crossroads: Conversations with the Dalai Lama on Brain Science and Buddhism(Snow Lion, Ithaca) 1999
    • Healing Emotions: Conversation with the Dalai Lama on Mindfulness, Emotions and Health edited by Danial Golesman (Shamble, Boston) 1997.
    • Sleeping, Dreaming and Dying: An Exploration of Consciousness with the Dalai Lama edited by Francisco J. Verela (Wisdom, Boston) 1997
    • Visions of Compassion: Western Scientists and Tibetan Buddhists Examine Human Nature edited by R.J. Davidson and A. Harrington (OUP, Oxford) 2002.
    • The Quantum and the Lotus: Journey to the Frontiers Where Science and Buddhism Meet by Matthieu Richard and Frinh Xuan Thuan (Crown, New York) 2001

อันสืบเนื่องมาจาก 14 ตุลาคม 2516

  • ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มาจาก God King and Country ของ อังกฤษ

ปาฐกถา โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์

  • คันฉ่องส่องเจ้า
นายดิเรก ชัยนาม ที่คนไทยควรรู้จัก

  • ประวัติต้นรัชกาลที่ 6 โดย ต้น วชิราวุธ

บทความของ ดวงเดือน ประดับดาว


  • ช่วงหลังของชีวิต, ส. ศิวรักษ์
  • ลอกคราบสังคมไทย

[อ่าน] ปัจจุบันเป็นเวลาอันประเสริฐที่สุด

"เล่มนี้ดีที่สุด อ่านทีละบท และปฏิบัติตามนั้น ก็พอแล้ว "

ท่านอาจารย์ พุทธทาส พูดกับพระที่ดูแลท่านก่อนท่านจะพูดไม่ได้

วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2558

[อ่าน] The personal MBA master the art of business ของ Josh kaufman

   เริ่มอ่านหนังสือ Business เหมือนจะทำธุรกิจ เลย จริง ๆ เล่มนี้ผมเห็นมานานแล้ว และได้ยินมาหลายครั้ง จำไม่ได้ว่าครั้งสุดท้ายที่ได้ยิน หรืออ่านเจอคำแนะนหนังสือเล่มนี้ จนทำให้ตัดสินใจซื้อมา คือเมื่อไหร่ แต่ก็ไหน ก็ได้มาแล้ว ก็เริ่มอ่าน ซึ่ง จริง ช่วงนี้ก็มีหลายเล่มมากที่ซื้อมาแล้วยังไม่ได้อ่านครับ ส่วนเล่มนี้ มีหลายประเด็นที่ผมชอบ แต่ตอนนี้ขอ จดหนังสือเล่มอื่นที่เค้าแนะนำไปด้วยระหว่าง อ่านเลยละกันครับ

Financial intelligence for Entrepreneurs by Karen Berman and Joe Knight

Simple Numbers, Straight Talk, Big Profits! by Greg Crabtree

Accounting Made Simple by Mike Piper

How to Read a Financial Report by John A. Tracy

ยังแนะนำ เว็บ http://mbamath.com และ Bionic turtle (http://bionicturtle.com)

ถ้าสนใจเรื่องเกี่ยวกับ statistic เค้าแนะนำให้อ่าน

Thinking Statistically by Uri Bram

How to lie with Statistics by Darrell Huff

Turning Numbers into Knowledge by Jonathan G. Koomey, PhD

และการวิเคราะห์ขั้นสูงให้ อ่าน Principles of statistics by M.G. Bulmer

วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2558

23 Jun 2015

   ไม่รู้จะตั้งหัวข้อว่าอะไรดีครับ แต่เริ่มมาวันนี้มีน้องฝากหาหนังสือ ของนักเขียนสี่ท่าน คือ


  1. Isiah Berlin
  2. Noam Chomsky
  3. Paulo Freire
  4. Bertrand Russell
เอาตรง ๆ คือผมเคยได้ยิน แค่สองคนคือ Isiah Berlin  และ Noam Chomsky และคือแค่ได้ยิน และเคยอ่านเจอในหนังสือหลายเล่มที่กล่าวถึง ซึ่งไม่เคยได้อ่านงานของ นักเขียนดังกล่าวเลยครับ และแม้แต่ไปหาหนังสือมาแล้ว ผมก็ยังไม่ได้หนังสือของนักเขียนเหล่านี้มาเป็นของตัวเอง แต่ได้หนังสือ อื่น ๆ มา คือของ Jared Diamond ซึ่ง เพื่อนผม แนะนำให้อ่านเรื่อง Guns, Germs and steel ไม่สามารถหาได้จิง ๆแต่สุดท้ายเพื่อนก็ส่งไฟล์ PDF มาให้ แต่สิ่งที่ผมได้คือหนังสือ Collapsed ของ นักเขียนท่านเดียวกัน และนอกจากนั้นก็ได้หนังสือ ของ Howard Zinn มาครับ เหมือนผมจะเคยพิมพ์เกี่ยวกับ Howard Zinn ซึ่งผมเองก็จำไมไ่ด้เหมือนกัน ว่าตอนนั้นเขียนตอนอ่านหนังสือเรื่องอะไร พูดตรง ๆคือลืมสนิท บางครั้งก็สงสัยเหมือนกันครับอ่านหนังสือมาหลานเล่มสุดท้ายก็ลืม ไม่รู้ว่าคนที่อ่านหนังสือท่านอื่นจะเป็นหรือไม่หรือเป็นที่ผมคนเดียวไม่ทราบ แต่ถ้ามีใครที่อยากอ่านหนังสือแล้วกลัวจะลืม ถ้ามาถามผม ผมคงบอกตรงๆ ว่ามันลืม นะ จำได้นิดหน่อย แต่ผมก็มีความสุขที่จะอ่านต่อไปอยู่ดีครับ
    ที่ร้านหนังสือแนะนำหนังสือที่ชื่อ Man's Seach for Meaning ของ Viktor E. FrankL มาด้วยครับ ไม่เคยได้ยิน เอาเป็นเดี๋ยวลองดูละกัน


ปล. ผมอยากพิมพ์เก็บไว้ ในตอนนึกได้ ไม่รู้ว่าอะไรหลาย ๆอย่างมันจะคลายปมให้ผมได้ไม้ว่า อ่านแล้ว เล่มไหนทำให้ผมเปลี่ยนไปยังไง 

วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

[อ่าน] จดหมายรักถึงเผด็จการ


   จริง ๆแล้วผมควรจะอ่านเล่มนี้ก่อนหน้า "พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ" เนื่องจากเล่มนี้ออกมาก่อน  แต่เนื่องด้วยตอนนั้นหนังสือเล่มนี้ไม่ได้อยู่ใกล้ตัวผม

   เริ่มมา กษิดิศ อนันทนาธร ลูกศิษย์ ก้นกุฏิ ของ อาจารย์สุลักษณ์ ผู้เป็นบรรณาธิการของหนังสือเล่มดังกล่าวก็ได้พูดถึงหนังสือ "คำขานรับ" ของ ศรีบูรพา หรือกุหลาบ สายประดิษฐ์ ซึ่งตรงนี้เองก็ถือเป็นที่มาของชื่อสำนักพิมพ์  "ไม่ขานรับ?" ผมเองแปลกใจอยู่หน่อย ตรงที่เครื่องหมายคำถาม ว่าเหตุใดจึงไม่สรุปว่าจะขาน หรือไม่ขาน หรือแล้วแต่คน  ซึ่งตรงนี้เป็นชื่อของสำนักพิมพ์น่าจะต้องสะท้อนถึงตัวตนผู้คิด ว่า จะขานรับหรือไม่ หรือการใส่ประโยคคำถามเป็นการเล่นกับผู้อ่าน เอ๊ะยังไง

  พูดถึงหนังสือ นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน ของ อ. สุลักษณ์

"ศรีบูรพา". จนกว่าเราจะพบกันอีก (กรุงเทพฯ:ดอกหญ้า 2545)

กุหลาย สายประดิษฐ์, "จาก 'ศรีบูรพา' ถึง 'หลวงสารานุประพันธ์'" ใน บุคคล อนุสรณ์(กรุงเทพ: แม่คำผาง, 2548)

ส. ศิวรักษ์. และคนอื่น ๆ. อัปรีย์ไป จัญไรมา (กรุงเทพฯ : สถาบันสันติประชาธรรม, 2534)

ส. ศิวรักษ์. สร้างสรรค์สันติประชาธรรมให้เป็นจริง, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพ, สวนเงินมีมา, 2545)

ส. ศิวรักษ์. จดหมายเหตุ จากถนอมถึงคึกฤทธิ์(กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย,2519)

หนังสือชวนอ่าน และวิจารณ์หนังสือต่าง ๆ ของ อ. สุลักษณ์

ส. ศิวรักษ์, ค่อนศตวรรษประชาธิปไตยไทยที่เต็มไปด้วยขวากหนาม (กรุงเทพฯ:ศึกษิตสยาม, 2550)

ส. ศิวรักษ์, สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2553)

ส. ศิวรักษ์, เสียงจากปัญญาชนสยามวัย ๗๗ (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2553)

ส. ศิวรักษ์, กิน กาม เกียรติ ในวัย ๘๐ (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2556)

ส. ศิวรักษ์, รากงอก ก่อนตาย (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2555)

ส. ศิวรักษ์, ลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕ (กรุงเทพฯ:ศึกษิตสยาม, 2554)

สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, พ.ท. ตำนานใหม่ของเบบี๋วนการเสรีไทย:เรื่องราวของการต่อสู้เพื่อเอกราช สันติภาพ และประชาธิปไตยอย่างแท้จริง (กรุงเทพฯ:สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)

ส. ศิวรักษ์, กล้า ๆ กลัว ๆ ชนชั้นปกครองกับงานฉลอง ๑๐๐ ปี ปรีดี พนมยงค์ (กรุงเทพฯ :ศึกษิตสยาม, 2543)

ปรีดี พนมยงค์, แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์, แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พยมยงค์ (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2552)

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล, เต๋าแห่งประชาธิปไตย (กรุงเทพฯ: สามัญชน, 2556)  และ ความฝันเดือนตุลา (กรุงเทพฯ: สามัญชน, 2557)

ส. พลายน้อย. พระยาพหลพลฯ นายกรัฐมนตรีผู้ซื่อสัตย์(กรุงเทพฯ: มติชน, 2555)

ส. ศิวรักษ์, เหลียวหลัง แลหน้า จากพฤษภาคม ๒๕๓๕ (กรุงเทพฯ:มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2536) และ ทำไมจึงตายเพื่อประชาธิปไตย(กรุงเทพฯ : สมาพันธ์, ม.ป.ป.)

พลตรีไพบูลย์ กาญจนพิบูลย์(บก.) ใน ๑๑๑ ปี ฯพณฯ พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา "เชษฐบุรุษ" ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๑ (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๕๒)

John Ralston Saul. The Collapse of Globalism And The Reinvention of The World (NY: The OVERLOOK Press, 2005)

ณรงค์ ใจหาญ. หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม ๒ (กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2556)

ส. ศิวรักษ์(แปล). แผ่นดิน และประชากรของข้าพเจ้า: อัตชีวประวัติของทะไลลามะแห่งธิเบต(กรุงเทพฯ: ศูนย์ไทยธิเบต, 2556)

เดี๋ยวต้องไปอ่านต่อ พิมพ์ไว้นาน แล้วแต่ไม่ได้อ่านต่อเลย

รวมหนังสือจิ๋ว ๆ

      เริ่มมาจากการอ่านหนังสือ "ลอกคราบ เสด็จพ่อ ร.๕" ของ อ. สุลักษณ์​แล้ว ภายในหนังสือ ก็มีการแนะนำหนังสือ ต่าง ๆเช่นเคย แต่เนื่องจากหนังสือ ดังกล่าวมีขนาดไม่หนามาก และยังมีหนังสือที่มีขนาดใกล้เคียงกันอีกหลายเล่ม จึงคิดว่าจะทำการรวมหนังสือกลุ่มนี้ไว้ด้วยกัน จะได้ง่ายต่อการกลับมาดู โดยที่หนังสือกลุ่มนี้มีดังนี้

  1. ลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕
  2. ความเรียงเรื่องปัญญาชน
  3. เพื่อน
  4. สอนสังฆราช
  5. สาระพระพุทธศาสนาของธิเบต
  6. พุทธตันตระ หรือ วัชรยาน
  7. ของดีจากธิเบต : เรื่องกน้ารู้เกี่ยวกับพุทธศาสนาในธิเบต
  8. แนวคิดทางปรัชญาการเมืองของ อริสโตเติล
  9. อุดมศึกษาเพื่อความเป็นไท โยงหัวสมอง และหัวใจให้เป็นหนึ่งเดียวกัน
  10. ธรรมกาย : ฟางเส้นสุดท้าย แห่งความเสื่อมสลายของสถาบันสงฆ์ไทย แล้วเราจะกู้สถานการณ์ได้อย่างไร
  11. นัยของการเข้าพรรษากับคนรุ่นใหม่
  12. ขจัดทักษิณาธิปไตย

    โดยเริ่มจากเล่มแรก คือ "ลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕"

India in 1872, as seen by the Siamese(Sachchidanand Sahai เขียน BP Publishing, Delhi 2002)

ผจญมาร รสช. ของ ส.ศิวรักษ์(สถาบันสันติประชาธรรม)

กล่าวถึง โรเบิร์ต มอรันต์ ซึ่ง ได้เขียนบันทึกลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕ ในสมัย ร.ศ. ๑๑๒ อย่างถึงพริกถึงขิงดังพระองค์เจ้าปฤษฎางค์ก็ทรงทำเช่นนั้น (เป็นภาษาอังกฤษ) ซึ่งเอกสาร 2 ชิ้นนี้ ตีพิมพ์แล้วในเมืองไทยนี้เอง ดังอาจหาอ่านได้จาก Two views of Siam on the Eve of the Cakri Reformation

อนาคตสำหรับไทย และอุดมคติทางการศึกษา ของ ส. ศิวรักษ์(เคล็ดไทย)

ลอกคราบสังคมไทย ของ ส.ศิวรักษ์

โดยที่ในภาคผนวกของหนังสือเล่มนี้นั้นได้กล่าวถึงหนังสือของ ส.ศิวรักษ์ในชุดดังกล่าว ประกอบด้วย
  1. ความเรียงเรื่องปัญญาชน
  2. ลอกคราบปัญญาชนฝรั่ง
  3. ความเรียงเรื่องเพื่อน
  4. พุทธศาสนากับปัญหาทางเพศ
  5. มองไปข้างหลัง แลไปข้างหน้าเมื่อชราภาพครอบงำ
  6. สอดสร้อยมาลา ศิวาลังการ
  7. โสกราตีส
  8. สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล

เล่มต่อมาคือ ความเรียงเรื่องปัญญาชน

เปิดมาเป็นรูปของ Alfred Dreyfus ซึ่งกล่าวว่าถูกรัฐบาลฝรั่งเศสกล่าวหามาเป็นกบฎหรือขายชาติเป็นที่มาให้คนแสดงออกอย่างจิงจังเพื่อปกป้อง Alfred จึงเรียนคนกลุ่มดังกล่าวว่า ปัญญาชน 

พูดถึงหนังสือปัญญาชนสยาม ซึ่งเก็บความจากข้อเขียนของ เฮอเบิร์ต ฟิลิปส์

ลอกคราบปัญญาชนฝรั่ง เก็บความมาจากเรื่อง Intellctuals ของ พอล จอห์นสัน

พูดถึงชื่อของคนที่เป็นปัญญาชน เยอะมากเลย ซึ่งไม่รู้จักเลยครับ เดี๋ยวจะค่อย ๆไล่อ่านละกัน

  • Raymond Aron(1905-1983)
  • Albert Camus(1913-1960)
  • Emile Zola(1840-1902)
  • Vaclav Havel(1936-)
  • Karl Kraus(1874-1936)
  • Margaret Buber Neumann(1901-1989)
  • Alva Myrdal(1902-1986)
  • Sidney Hook(1902-1989)
ปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่ถือกันว่าเป็นหัวก้าวหน้า เช่น
  • Jean-Paul Sartre (1905-1980)
  • Michel Foucault(1926-1984)
  • Gunter Grass(1927-)
  • Susan Sontag(1933-2004)
  • George Orwell(1903-1950)

หลังจากนั้นก็ยังมี
  • Primo Levi(1919-1987)
  • Manos Sperber ซึ่งกล่าวว่าถูกลืมไปอย่างน่าเสียดายนัก ทั้ง ๆที่ข้อเขียนของเขาแสดงออกซึ่งความเป็นปัญญาชนชาวยิวอย่างสำคัญ
  • Arthur Koestler(1905-1983) กับงานเขียนที่สมัยหนึ่งนักศึกษาแทบทุกมหาวิทยาลัยในโลกตะวันตกต้องอ่าน คือ "Darkness at noon" ซึ่งหนังสือเรื่องนี้อีกศตวรรษได้นำมาบรรยายไว้ในเรื่อง The God That Failed
หนังสืออัตชีวประวัติของ Hans Kung โดยเฉพาะเล่ม 2 Disputed Truth: Memoirs II

    กล่าวถึงเมื่อก่อน พ.ศ. 2510 เฮอเบิร์ต ฟิลิปส์ ได้ทำงาน วิจัยเรื่อง Intellectuals  ซึ่งได้สรุป ว่าคนไทยสมัยนั้นส่วนใหญ่แล้วเป็น Literati ดังนี้ 8 อันดับ
  1. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช (หม่อมลิ้นตะไกร)
  2. วศิษฐ์ เดชกุญชร (ตำรวจเชิงซ้อน)
  3. เสนีย์ เสาวพงษ์ (ศิลปินผู้ลังเล)
  4. พระยาอนุมานราชธน (สารานุกรมเดินได้)
  5. รงค์ วงศ์สวรรค์ (ศิลปินหนุ่ม)
  6. สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (บ.ก. ผู้กร้าวร้าว)
  7. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ผู้ชำนาญงานที่ซื่อสัตย์)
  8. พุทธทาสภิกขุ (พระที่แท้)
     หลังจากนั้น สังคมศาสตร์ปริทัศน์ และ ปริทัศน์เสวนา กับศึกษิตเสวนา ได้เป็นเวทีให้เกิดปัญญาชนรุ่น ถัด ๆมา ถ้าเลือกเอา 10 ชื่อตามแบบอย่าง ฟิลิปส์ ก็ได้ 
  1. ปยุตฺโตภิกขุ
  2. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล
  3. นิธิ เอียวศรีวงส์
  4. พระไพศาล วิสาโล
  5. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
  6. รังสรรค์ ธนะพรพันธ์ุ
  7. เกษียร เตชะพีระ
  8. ธงชัย วนิจกุล
  9. ชัยวัฒน์ และ สุวรรณา สถาอานันท์
  10. ผาสุก พงษ์ไพจิตร 
   นอกจากที่กล่าวมาแล้ว  อาจารย์ สุลักษณ์ยังเพิ่มเติมอีกว่าในมุมมองของอาจารย์คนเหล่านี้ก็ถือว่าเป็นปัญญาชนเช่นกันคือ 
  1. เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
  2. จรัญ โฆษณานันท์
  3. จรัล ดิษฐาอภิชัย
  4. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
  5. ชาตรี ประกิตนนทการ
  6. ไชยันต์ ไชยพร
  7. ไชยันต์ รัชชกูล
  8. บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์
  9. สมชาย ปรีชาศิลปกุล
  10. ประภาส ปิ่นตบแต่ง
  11. พฤกษ์ เถาถวิล
  12. มาร์ค ตามไท
  13. ยุกติ มุกดาวิจิตร
  14. วราภรณ์ สามโกเศศ
  15. เวียงรัตน์ เนติโพธิ์
  16. ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์
  17. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
  18. สุธี ประศาสน์เศรษฐ์
  19. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
  20. สุริชัย หวันแก้ว
  21. อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์
  22. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์
  23. อลิสา หะสาเมาะ
      ในภาคผนวกได้กล่าวถึงกรณี L' Affaire Dreyfus ซึ่งก่อให้เกิดหนังสือออกมาเป็น
หนังสือนิยายชื่อ Vesite โดย Emile Zola
Anatole France เอาไปเขียนเป็นเรื่อง M. Begeret a Paris 
Roger Martin du Gard เขียนเรื่อง Jean Barois 
Lavedan or Donnay เขียนเป็นบทละคร
Proust เขียนไว้ในเล่มแรก ๆของนวนิยายของเขา A la recherche´du temps per du


หนังสือของ George Orwell เกี่ยวกับการปฏวัติที่ สเปน ที่ชื่อว่า Homage to Catalonia

หนังสือของ Auden (ออเดน) ซึ่งมีกล่าวในหนังสือ ปัญญาชนกับอนาคตสังคมไทย

หนังสือเล่มต่อไปคือ ความเรียงเรื่องเพื่อน
ซึ่งได้เกริ่นไว้ว่า แรงดลใจในการเขียนข้อความนี้มีมาจาก หิโตปเทศ อันเป็นของพราหมณ์

มีการกล่าวถึงหนังสือ Symposium 


หนังสือเล่มต่อมา คือสอนสังฆราช

หนังสือ นวโกวาท

หนังสือ วินัยมุข

Constitution of the Buddhist Sangha by Kanai Lal Hazra 

Buddhist Monks and Monasteries of India by Sukumar Dutt 

ให้ลองอ่านเรื่อง วิวาทะระหว่างท่านพุทธทาสกับ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

The Wealth of Nation by Adam smith

The Pilgrimage of Buddhism by J.R. Pratt 

Buddhist Economics ของ ชูมาร์กเกอร์

และ Small is Beauty ของ ชูมาร์กเกอร์

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ โดย พระเทพเทวี(ประยุทธ์ ปยุตโต)

ไผ่แดง ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช อ้างว่า ได้เอาอย่าง ดอน คามิโล

ให้ลองอ่านงานของ แลแซแฟร์

The Stages of Economics Growth : A Non-Communist Manifesto by W.W. Rostow)

หนังสือ พุทธศาสนวงศ์ ของ สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศ



อุดมศึกษาเพื่อความเป็นไท:โยงหัวสมอง และหัวใจให้เป็นหนึ่งเดียวกัน

Education for Liberation ของ Adam Curle แปลออกเป็นภาษาไทยแล้ว ชื่อ การศึกษาเพื่อความเป็นไท โดย นายวิศิษฐ์ วังวิญญู

Religion and Education by John B. Cobb. jr

University Idolatries by John B. Cobb. jr

Envisioning a Fift Model by John B. Cobb. jr

Buddhist Education ของ พระธรรมปิฏก(ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

Radical Conservatism: Buddhism in The Contemporary World

Principia of Methematica อัลเฟรด นอร์ื ไวท์เฮด

ยี อี มัวร์​ เขียนเรื่อง Principia Ethica

Wittgenstein, Avrum Stroll, OneWorld Publication 2002

ความเข้าใจในเรื่องของมหายาน ของ ส. ศิวรักษ์

หฤทัยสูตร

ความเข้าใจในเรื่องวิญญาณวาท ของ ท่าน นัทฮันห์

มรรควิธีแห่งการฝึกตน ของ ทะไลลามะ

วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

หลังจากหายไปนาน

   หลังจากหายไปนาน นานมาก จนจำไม่ได้ว่านานแค่ไหน ขี้เกียจนั่งดูเวลาที่หายไป ช่วงที่ผ่านมาต้องทำหลาย ๆ อย่างที่สำคัญ (คือเรียนให้จบก่อน) เลยไม่ค่อยได้มีเวลามาพิมพ์ หนังสือก็อ่านน้อยลง ตอนนี้พอกลับมา แล้ว กำลังมีไฟเริ่มอ่านหนังสือใหม่ หนังสือที่จะมาอ่านตอนนี้ออกจะเป็นแนวธุรกิจ เลยครับ เพราะว่าเป้าหมาย ของผม คืออยากทำ Passive Income เพื่อที่จะได้มีเวลาทำความฝันในอนาคตมากขึ้น ช่วงนี้ที่กลับมาอ่าน ขอเริ่มจากหนังสือของ คุณ บัณฑิต อึ้งรังษี ชื่อหนังสือ "เกิดมาเพื่อชนะ"


ซึ่งภายในหนังสือเล่มนี้ได้แนะนำหนังสือใหม่ ที่ผมสนใจคือ
 The E-myth ของ Michael E. Gerber 
     ซึ่ง idea ของหนังสือเล่มนี้ คุณ บัณฑิต กล่าวว่า 
           หน้าที่ของคุณ คือสร้างระบบ ไม่ใช่ไปทำงานในระบบนั้นเอง ไม่งั้นจะกลายเป็น... คุณซื้องานให้ตัวเองทำ ตอนแรกอยากเป็น "เจ้านายตัวเอง" แต่ต้องกลายมาเป็น "ทาสของระบบตัวเอง" นั้น หยุดทำงานไม่ได้ ไม่ใช่เป็นเจ้าของธุรกิจ


หนังสือ The psychology of winning ของ Dr. Dennis Waitley

หนังสือ The science of being great ของ  Wallace Wattles

หนังสือ Success Through a Positive Mental Attitude ของ W. Clement Stone & Napoleon Hill

หนังสือ  Wisdom of the ages ของ Wayne W.Dyer

หนังสือ You were born rich ของ Bob proctor


หนังสือของ Tom Peters เกี่ยวกับ Personal branding


         หลังจากอ่าน "เกิดมาเพื่อชนะ" จบแล้วก็ต่อกันที่หนังสืออีกเล่มของคุณบัณฑิต เลยละกัน 
ชื่อหนังสือ "สำเร็จก่อนใคร" ซึ่งผมสังเกตุว่า เป็นเล่มที่ 3 ในกลุ่มของหนังสือโชคดีของคุณบัณฑิต แต่ผมไม่มีสองเล่มแรก ไม่เป็นไรขออ่านเล่มนี้ไปก่อนละกัน

อ่าน ๆมาก็เจอ แนะนำ T. Harv Eker ซึ่งเป็นคนเขียน "Secret of Millionaire Mind"





แนะนำ Website  "www.chagethis.com" 

BLOG "Zen habits" ของ Leo Babauta 

เดี๋ยวต้องมาอ่านต่อ วันนี้ไมไ่ด้พกหนักงสือ ของ คุณบัณฑิต มา  ไม่มีอะไรอ่าน เลยต้องหาหนังสือ อ่าน พิดี ไปได้หนังสือ ที่บื่ อ

"How to be a brilliant Thinker" ของ Paul Sloane มา ครับ สนใจ ที่ชื่อหนังสือ ซึ่งพอเริ่มอ่านก็น่าสนใจมาก 


และเค้าได้พูดถึงหนังสือ ที่ชื่อ

Why didn't I think of that? ของ Charles McCoy 


Irrationality ของ Stuart Sutherland


น่าสนใจมากเลย เดี๋ยวค่อยหามาอ่าน ห้า ๆๆ


Hare Brain Tortoise Mind ของ Guy Claxton


Perplexing altered Thinking Puzzles



วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558

เปลี่ยนยุค...อีกแล้ว

    เป็นเวลาพอสมควรที่ไม่ได้เข้ามา update blog เลย เนื่องจาก มัวแต่ทำอย่างอื่น เลยไม่มี เวลาเข้ามาพิมพ์อะไรเพิ่มเลย ล่าสุดที่ update ไว้ที่จำได้คือ หนังสือ เรื่อง Blessed unrest ซึ่ง ทุกวันนี้ก็ยังไม่ได้กลับไปอ่านเลย ไม่รู้ทำไมมันไม่ดึงดูด ให้ผมอ่าน
    ช่วงหลัง ๆ มานี้ อ่านหนังสือทุนนิยม เยอะมากเลย  ซึ่งในช่วงที่หายไปผมก็ยังคงอ่านหนังสืออยู่บ้าง แต่มักจะเป็นหนังสือ แนว self improvement ซึ่งตอนนี้พยายามจะไล่ลำดับหนังสือช่วงที่หายไป คิดว่าคงมีตกหล่นไปบ้าง แต่ก็ดีกว่าปล่อยนานไปอีก เดี๋ยวจะลืม

ซึ่งช่วงที่ผ่านมาจำได้ว่าเล่มแรกที่อ่าน เป็นหนังสือ ของคุณ บัณฑิต อึ้งรังษี เรื่อง เก่งภาษา 50 ล้าน

  ซึ่งภายในหนังสือทำให้ผมได้พบหนังสืออีกหลาย เล่มไม่ว่าจะเป็นนักเขียน หรือผู้ที่มีชื่อเสียง มั้งครับ เอาไว้จะไปอ่านแล้วมาพิมพ์ไว้ใหม่ จำไม่ได้ แล้ว อ่ะ จากนั้น เหมือนเล่มต่อมาที่อ่านจะเป็น หนังสือของคุณบัณฑิต เช่นกัน เนื่องจากวันนั้น จริง ๆแล้ว ผมกำลังตามหาหนังสือที่ชื่อ เจาะจุดแข็ง

ซึ่งไม่เจอครับ คือหาไม่ได้ เลยได้หนังสือของคุณ บัณฑิต อีกเล่มมาแทน คือหนังสือ The new rich

เห็นคำว่า New rich แล้วทำให้ผมนึกขึ้นมาได้ว่า ผมน่าจะอ่านหนังสือของคุณ บัณฑิต แล้วพบกับหนังสือเล่มหนึ่งที่ ชื่อ ว่า 4 hour work week


ซึ่งเล่มนี้ก็ได้มาจาก Asia book พร้อม ๆกับ Now, discover your strength ซึ่งเป็นเล่มต้นฉบับ ของเจาะจุดแข็ง

นอกจากนั้นแล้วก็ยังได้หนังสือ งานไม่ประจำทำเงินกว่า

ซึ่งนอกจากนั้นแล้ว หลังหนังสือ The new rich ของคุณบัณฑิต มีการแนะนำหนังสือ ของ 
คุณ รวิโรจน์ อินพลเสถียร ชื่อ ปั๊มเงิน ด้วยอสังหาฯ ไว้ใช้ตลอดชาติ ซึ่ง ตอนนั้นผมก็ add line กับ facebook ไปครับ ถึงได้รู้ว่าหนังสือยังไม่จำหน่าย แต่อีกไม่กี่วันต่อมา ผมก็ได้ไปซื้อที่ se-ed เพื่อเอามาอ่าน เป็นหนังสือที่ อ่านง่ายมากเลยครับ ถึงตอนนี้ผมก็ยิ่งสนใจ อสังหาเลย ทีนี้ยุคเปลี่ยนเลย 

หลังจากเล่มดังกล่าว ผมก็อ่าน อีกหลายเล่มเลย ครับ จำไม่ค่อยได้ อ่านหนังสือ เปลี่ยนไปเปลี่ยน มา ตอนนี้ ที่อ่านอยู่ คือ  "The Evelyn Wood Seven-Day Speed Reading and Learning Program" น่าจะได้เล่มนี้มาจากหนังสือคุณบัณฑิต เช่นกัน ครับ ซึ่งผมว่ามันจำเป็นเนื่องจาก ผมเอง มองว่าหนังสือในโลกนี้มีมากมายก่ายกอง ถ้าอ่านแบบทุกวันนี้ที่ผมอ่าน คงไม่ถึงไหน แน่ ๆเลยครับ เลย อยากจะพัฒนา แต่เอาจริง พอลอง ทำแบบทดสอบ พบเลยว่า ผมอ่านช้า มาก อาจจะเป็นปัญหาที่ยังอ่านภาษาอังกฤษไม่ แม่น จริง ๆครับ 

  ก่อนหน้าเล่มนี้ขอลงหนังสือ พวกอสังฯ ไว้บ้างเดี๋ยวลืม ครับ อ่านของ คุณ จักรพงศ์ เมษพันธุ์  เรื่อง "เกมเศรษฐี ลงทุนให้รวย ด้วยอสังหาริมทรัพย์" นอกจากนั้นแล้ว ยังมี

"รวยด้วยอสังหาฯ โดยไม่ต้องใช้เงินสักบาท" ของ คุณ พิชัย จาวลา  

สองเล่มที่ว่านี้อ่านแล้ว ได้แนวคิดที่ดีมาก แต่ผมเองพึ่งเริ่มต้น เลยไม่สามารถจะสรุปเป็นของตัวเองได้ครับ จะว่าไปคิดถึงหนังสือ อสังฯ​ที่เคยอ่านก่อนหน้านี้ แล้วทำให้มีไฟ เป็นนักเขียน มาเลเซีย จำชื่อหนังสือไม่ได้ เดี๋ยวกลับไปหา แล้วค่อยเอารูปมาแปะครับ  --> เจอแล้วครับ ชื่อหนังสือ 
"เก็งอสังหาฯ ลงแค่หมื่น คืนเป็นล้าน"


จริง ๆก็มีหนังสือ อสังหาฯ ของต่างประเทศ ที่กำลังอ่านอยู่ คือ The road to wealth ของ Robert Allen

ซึ่งนอกจากเล่มนี้แล้วก็มีเล่มอื่น ๆเหมือนกันครับ ที่รออ่านต่อ ไว้คือ
SEE YOU A THE TOP ของ Zig ziglar


 The Real book of Real estate ของ Robert kiyosaki

พิมพ์ไป ๆมา ๆคิดขึ้นมาได้ว่า เล่มนี้ก็อ่านไปแล้วครับ อ่านแล้วได้กำลังใจดีมากเลยครับ คือ
"สร้าง ล้านแรกต้องแหกกฎ ของคุณ​ภาวิทย์​ และดร. ต้อง "

ตอนนี้ขอ แปะ ๆไว้เท่านี้ก่อนครับ ช่วงนี้อ่านแต่หนังสือธุรกิจ อ่านไปก็งง ไปไม่รู้จะไปทางไหน อยากได้ ชีวิต Passive แต่ไม่รู้จะเริ่มยังไง สงสัยคงต้องตามหาต่อไปครับ 

ลืม อีกเล้มที่อ่าน คือ 











วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

[อ่าน] พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ


  หลังจากอ่าน สรรพสาระ สำหรับผู้แสวงหาจบ ก็อ่าน หนังสือ อ่านคน-ไทย ต่อ ซึ่งเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ในโครงการประมวลงานเขียนของ ส. ศิวรักษ์ ในวาระ ๗ ทศวรรษ - ๖ รอบนักษัตร 
ซึ่งระหว่างที่อ่านก็ได้เห็นมุมมองของ อ. สุลักษณ์ ต่อบุคคลต่าง ๆ ซึ่งจะว่าไปแล้วผมแทบไม่รู้จักเลย อาจจะเคยได้ยินชื่อบ้าง แต่ก็ไม่สามารถอธิบายอะไรเพิ่มเติมไปมากกว่าชื่อที่เคยได้ยิน จึงทำให้ผมได้เรียนรู้เรื่องราว ของคนในอดีตเพิ่มขึ้นอย่างมาก
   แต่อย่างไรก็ตามหนังสือเล่มดังกล่าว เป็นการอ่านคน หรือเป็นการเล่าเรื่องคนอย่างย่อ ๆ พอผมเริ่มอ่านไปซักพักแล้วมันเริ่มเบื่อ ไม่สามารถอ่านต่อจนจบในทีเดียวได้ จึงได้พัก หนังสือเล่มดังกล่าวเพื่อมาอ่านหนังสือ แนวที่ต่างออกมา ซึ่งจริง ๆแล้วก็มีหนังสือของผู้เขียนท่านอื่น แต่เนื่องจาก หนังสือของอาจารย์ ส. ศิวรักษ์ ที่ผมมีอยู่นั้น ค่อนข้างมากที่เดียว จึงอยากจะรีบอ่านของอาจารย์ให้มากก่อน อย่างน้อยจะได้รู้สึกว่าพร่องไปบ้าง จึงมาหยุดที่หนังสือ เล่มนี้ พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ 

    เปิดมาคำนำสำนักพิมพ์ ก็ได้แนะนำหนังสือมากมายเลยทีเดียว เริ่มจาก

เสียงจากแดนไกล(กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2536) 

ผจญมาร รสช.(กรุงเทพฯ: สถาบันสันติประชาธรรม, 2538)

พิพากษาสังคมไทย พิพากษา ส. ศิวรักษ์: คู่มือการดำเนินคดีอาญาลักษณะความผิดฐานหมิ่นพระบรม
เดชานุภาพ และหมิ่นประมาท (กรุงเทพฯ: สถาบันสันติประชาธรรม, 2539) 

คนนอกคุก ทำไมข้าพเจ้าไม่สยบยอม รสช. ภาค ๑ และ๒ (กรุงเทพฯ: ศึกษิตสยาม, 2540)

ด้านใน ส.ศิวรักษ์

๑๐ ปัญญาชนสยาม เล่ม ๒ ปัญญาชนหลังการปฏิวัติ ๒๕๔๗ 

บาเรนต์ ยาน แทร์วิล, "เกิดอะไรขึ้นที่หนองสาหร่าย: เปรียบเทียบหลักฐานท้องถิ่น และหลักฐานยุโรปที่กล่าวถึง ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ ในสยาม" แปลโดย ณัฐนพ พลาหาญ ใน ปาจารยสาร(ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๖-๒๕๕๗) หน้า 52-79

http://chaoprayanews.com/blog/canthai/2014/10/13/ส-ศิวลักษณ์กระทำความผิด/

http://www.prachatai.com/english/node/4416

John Ralston Saul, Voltaire's Bastards: The Dictatorship of Reason in the west(New York. Free Press: Maxwell Macmillan International, 1992) 

Oscar Douglas Skelton, Life and Letters of Sir Wilfrid Laurier, Vol 1 (Oxford University Press) 

The Doubters Companion: A dictionary of aggressive common sense(Free Press, 2013)

ปรีดี พนมยงค์. คณะราษฎรกับการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย 24 มิถุนายน: ความเป็นมาของศัพท์ไทย "ปฏิวัติ, รัฐประหาร, วิวัฒน์, อภิวัฒน์" พิมพ์ครั้งที่ ๒ (กรุงเทพฯ: แม่คำผาง , 2553)

ส. ศิวรักษ์. เจ้าพระยายมราชคนสุดท้าย: ศึกษาเชิงเปรียบเทียบ ใน หัวไม่เป็นตีน (กรุงเทพ: ศึกษิตสยาม, 2535)

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, "ข้อเสนอของฮัจญีสุหลง และท่านปรีดี พนมยงค์ ต่อการปกครองพิเศษในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้" ใน ประวัติศาสตร์วิพากษ์:สยามไทย กับปาตานี(กรุงเทพฯ: มติชน, 2556)

ถาวร สิกขโกศล. แซ่เซียว (กรุงเทพฯ: ม.ป.พ., 2545)
ซึ่งเล่มล่าสุด คือ เทศกาลจีน และการเซ่นไหว้(กรุงเทพฯ: มติชน, 2557)

ส.ศ.ษ. ไปเมืองจีนคราวแรก พ.ศ.2522 จนเมื่อไปแผ่นดินใหญ่ครั้วที่ 6 จึงได้เขียน ขอดเกร็ดมังกร(กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2537) 

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา, เพื่อชาติ เพื่อ Humanity:ภารกิจของวีรบุรุษเสรีไทย จำกัด พลางกูร ในการเจรจากับสัมพันธมิตร(กรุงเทพฯ:สร้างสรรค์, 2549)

Prisoner of the States: The Secret Journal of Premier Zhao Ziyang by Zhao Ziyang(2009) 
สำหรับภาษาไทย หาอ่านได้ใน จ้าวจื่อหยาง บันทึกลับจ้าวจื่อหยาง: เบื้องหลังเหตุการณ์นองเลือดเทียนอันเหมิน. แปลโดย สิทธิพล เครือรัติกาล และคณะ(กรุงเทพฯ: มติชน, 2552)

The prince ของ มาคิอาเวลลี ภาษาไทย คือ มาคิอาเวลลี. เจ้าผู้ปกครอง. แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ์(กรุงเทพฯ:คบไฟ, 2551)

อรรถศาสตร์ ของ เกาติลิยะ

เรียนวิชา Literae Humaniores

The Decline and Fall of The Roman Empire

ตำนานการเลิกหวย และอากรบ่อนเบี้ย นิพนธ์โดย กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

Anthony Everitt ได้แต่งประวัติของ Cicero ไว้

Tony Judt เป็นปัญญาชน ที่น่าสนใจผลงาน

ป๋วย อึ๊งภากรณ์ : ทัศนะว่าด้วยการเมือง และจริยธรรม(กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2545)

Seizing An Alternative:Toward An Ecological Civilization

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์, เศรษฐศาสตร์ของชาวพุทธ(กรุงเทพฯ:มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2517) 

จิ๋วแต่แจ๋ว :เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ, พิมพ์ครั้งที่ 4 (กรุงเทพฯ:สมิต , 2557) 

William Stevenson" The Revolutionary King: The True-life Sequel to "The King and I"(Robinson Publishing 2001)

กองบรรณาธิการ, "สัมภาษณ์ชาตรี ประกิตนนทการ: ศาลฎีกากับความพยายามทำลายล้างความทรงจำคณะราษฎร ของรัฐไทย" ใน ปาจารยสาร(ปีที่ ๓๗ ฉบับที่ ๑ มีนาคม-พฤษภาคม ๒๕๕๖) หน้า 45-57

อดัม เคิร์ล. การศึกษาเพื่อความเป็นไท. แปลโดย วิศิษฐ์ วังวิญญู (กรุงเทพ:มูลนิธิเด็ก, 2546)

Dialogue Concerning the Two Chief World System(Ptolemic and Copenican) ของ กาลิเลโอ

Bruce Rich. To Uphold The World: The message of Ashoka and Kautilya for the 21th Century(Penguin Books India, 2008) 
แปลเป็นไทย ชื่อว่า การธำรงโลกไว้ โดยอาศัยสาระจากพระเจ้าอโศก และเกาติละยะในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑

ส. ศิวรักษ์. ความเข้าใจเรื่องพระเจ้าอโศก และอโศกาวทาน(กรุงเทพฯ:ศูนย์ไทยธิเบต, 2552)

Sulak Sivaraksa. The Wisdom of Sustainbility : Buddhist Economics for the 21th Century. Edited by Arnold Kotler and Nicholas Bennett(Kihei Hawai'l: Kao Books; Chiang Mai, Thailand : Silkworm Books, 2009)

สุรพศ ทวีศักดิ์. ไตรทัศน์วิจารณ์: ความคิดว่าด้วยพุทธศาสนา สถาบัน กษัตริย์ และประชาธิปไตย ของ ส. ศิวรักษ์ (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2557)

ส. ศิวรักษ์, "คนกับงาน: สัมภาษณ์พระยาอุดรธานี" ใน หกปีจากปริทัศน์ (กรุงเทพฯ:ศยาม, 2551)

มีการพูดถึง Carr และ Howard Zin 

แนวคิดที่คนไทยอพยพมาจากเทือกเขาอัลไตมาจาก หลวงวิจิตรวาทการ แนวคิดที่ว่าคนไทยอพยพจากเทือกเขานั้นลงมาเรื่อย ๆเพราะไปอ่านหนังสือของ นาย William Clifton Dodd 

สี่แผ่นดิน ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

งานเขียนของ James Prinsep

เรื่องของหลักศิลาจารึกต้องตามไปดูงานของ ยอช เซเดส์ (George Coed e`s ) และ William J. Gedney

ประวัติศาสตร์ที่ Oliver Stone กับ Peter Kuznick เขียน ประวัติศาสตร์ อเมริกันซึ่งคนอเมริกันไม่อยากรู้ (The Untold History of the United States) 

เตลงพ่าย ของ สมเด็จพระปรมานุชิตฯ

Journal of Siam Society ปี 57 

นิบาตชาดก

ปัญญาสชาดก

รามายณะ

มหาภารยตยุทธ มหาภารตะ รวมไปถึง ภควัทคีตา

นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน

นายปรีดี พนมยงค์ ตามทัศนะ ส. ศิวรักษ์

จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน ของ ป๋วย อี๊งภากรณ์ 

จดหมายจากนายเข้ม เย็นยิ่ง ถึงผู้ใหญ่บ้าน ทำนุ เกียรติก้อง ของ ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ทะไลลามะ และ วิกเตอร์ ชาน, ปัญญาญาณแห่งการอภัย, แปลโดยสายพิณ กุลกนกวรรณ ฮัมดานี(กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา,  2551)

พูดถึง Eric Hobsbawn

E.P. Thompson เขียน The Making of the English Working Class

The Idian Ideology  โดย Perry Anderson

http://democracyranking.org/?page_id=738#prettyPhoto

นี่คงเป็นหนังสือที่ได้มาจากหนังสือ "พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ" อาจจะไม่ทั้งหมดเพราะผมก็ข้ามบางเล่มไปบ้าง แต่ก็เป็นเล่มที่ผมมี แล้ว หรืออ่านแล้วบ้าง อย่างไรก็ตามผมคงจะกลับมาหาหน้าปกใส่ให้ข้อความด้านบน แต่เนื่องจากหนังสือที่มากมายก่ายกอง จึงขอ ทำบันทึกคร่าว ๆไว้ก่อน