วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

[อ่าน] จดหมายรักถึงเผด็จการ


   จริง ๆแล้วผมควรจะอ่านเล่มนี้ก่อนหน้า "พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ" เนื่องจากเล่มนี้ออกมาก่อน  แต่เนื่องด้วยตอนนั้นหนังสือเล่มนี้ไม่ได้อยู่ใกล้ตัวผม

   เริ่มมา กษิดิศ อนันทนาธร ลูกศิษย์ ก้นกุฏิ ของ อาจารย์สุลักษณ์ ผู้เป็นบรรณาธิการของหนังสือเล่มดังกล่าวก็ได้พูดถึงหนังสือ "คำขานรับ" ของ ศรีบูรพา หรือกุหลาบ สายประดิษฐ์ ซึ่งตรงนี้เองก็ถือเป็นที่มาของชื่อสำนักพิมพ์  "ไม่ขานรับ?" ผมเองแปลกใจอยู่หน่อย ตรงที่เครื่องหมายคำถาม ว่าเหตุใดจึงไม่สรุปว่าจะขาน หรือไม่ขาน หรือแล้วแต่คน  ซึ่งตรงนี้เป็นชื่อของสำนักพิมพ์น่าจะต้องสะท้อนถึงตัวตนผู้คิด ว่า จะขานรับหรือไม่ หรือการใส่ประโยคคำถามเป็นการเล่นกับผู้อ่าน เอ๊ะยังไง

  พูดถึงหนังสือ นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน ของ อ. สุลักษณ์

"ศรีบูรพา". จนกว่าเราจะพบกันอีก (กรุงเทพฯ:ดอกหญ้า 2545)

กุหลาย สายประดิษฐ์, "จาก 'ศรีบูรพา' ถึง 'หลวงสารานุประพันธ์'" ใน บุคคล อนุสรณ์(กรุงเทพ: แม่คำผาง, 2548)

ส. ศิวรักษ์. และคนอื่น ๆ. อัปรีย์ไป จัญไรมา (กรุงเทพฯ : สถาบันสันติประชาธรรม, 2534)

ส. ศิวรักษ์. สร้างสรรค์สันติประชาธรรมให้เป็นจริง, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพ, สวนเงินมีมา, 2545)

ส. ศิวรักษ์. จดหมายเหตุ จากถนอมถึงคึกฤทธิ์(กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย,2519)

หนังสือชวนอ่าน และวิจารณ์หนังสือต่าง ๆ ของ อ. สุลักษณ์

ส. ศิวรักษ์, ค่อนศตวรรษประชาธิปไตยไทยที่เต็มไปด้วยขวากหนาม (กรุงเทพฯ:ศึกษิตสยาม, 2550)

ส. ศิวรักษ์, สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2553)

ส. ศิวรักษ์, เสียงจากปัญญาชนสยามวัย ๗๗ (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2553)

ส. ศิวรักษ์, กิน กาม เกียรติ ในวัย ๘๐ (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2556)

ส. ศิวรักษ์, รากงอก ก่อนตาย (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2555)

ส. ศิวรักษ์, ลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕ (กรุงเทพฯ:ศึกษิตสยาม, 2554)

สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, พ.ท. ตำนานใหม่ของเบบี๋วนการเสรีไทย:เรื่องราวของการต่อสู้เพื่อเอกราช สันติภาพ และประชาธิปไตยอย่างแท้จริง (กรุงเทพฯ:สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)

ส. ศิวรักษ์, กล้า ๆ กลัว ๆ ชนชั้นปกครองกับงานฉลอง ๑๐๐ ปี ปรีดี พนมยงค์ (กรุงเทพฯ :ศึกษิตสยาม, 2543)

ปรีดี พนมยงค์, แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์, แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พยมยงค์ (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2552)

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล, เต๋าแห่งประชาธิปไตย (กรุงเทพฯ: สามัญชน, 2556)  และ ความฝันเดือนตุลา (กรุงเทพฯ: สามัญชน, 2557)

ส. พลายน้อย. พระยาพหลพลฯ นายกรัฐมนตรีผู้ซื่อสัตย์(กรุงเทพฯ: มติชน, 2555)

ส. ศิวรักษ์, เหลียวหลัง แลหน้า จากพฤษภาคม ๒๕๓๕ (กรุงเทพฯ:มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2536) และ ทำไมจึงตายเพื่อประชาธิปไตย(กรุงเทพฯ : สมาพันธ์, ม.ป.ป.)

พลตรีไพบูลย์ กาญจนพิบูลย์(บก.) ใน ๑๑๑ ปี ฯพณฯ พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา "เชษฐบุรุษ" ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๑ (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๕๒)

John Ralston Saul. The Collapse of Globalism And The Reinvention of The World (NY: The OVERLOOK Press, 2005)

ณรงค์ ใจหาญ. หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม ๒ (กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2556)

ส. ศิวรักษ์(แปล). แผ่นดิน และประชากรของข้าพเจ้า: อัตชีวประวัติของทะไลลามะแห่งธิเบต(กรุงเทพฯ: ศูนย์ไทยธิเบต, 2556)

เดี๋ยวต้องไปอ่านต่อ พิมพ์ไว้นาน แล้วแต่ไม่ได้อ่านต่อเลย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น