วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
[อ่าน] จดหมายรักถึงเผด็จการ
จริง ๆแล้วผมควรจะอ่านเล่มนี้ก่อนหน้า "พูดความจริงกับผู้มีอำนาจ" เนื่องจากเล่มนี้ออกมาก่อน แต่เนื่องด้วยตอนนั้นหนังสือเล่มนี้ไม่ได้อยู่ใกล้ตัวผม
เริ่มมา กษิดิศ อนันทนาธร ลูกศิษย์ ก้นกุฏิ ของ อาจารย์สุลักษณ์ ผู้เป็นบรรณาธิการของหนังสือเล่มดังกล่าวก็ได้พูดถึงหนังสือ "คำขานรับ" ของ ศรีบูรพา หรือกุหลาบ สายประดิษฐ์ ซึ่งตรงนี้เองก็ถือเป็นที่มาของชื่อสำนักพิมพ์ "ไม่ขานรับ?" ผมเองแปลกใจอยู่หน่อย ตรงที่เครื่องหมายคำถาม ว่าเหตุใดจึงไม่สรุปว่าจะขาน หรือไม่ขาน หรือแล้วแต่คน ซึ่งตรงนี้เป็นชื่อของสำนักพิมพ์น่าจะต้องสะท้อนถึงตัวตนผู้คิด ว่า จะขานรับหรือไม่ หรือการใส่ประโยคคำถามเป็นการเล่นกับผู้อ่าน เอ๊ะยังไง
พูดถึงหนังสือ นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ใหญ่ที่ไม่กะล่อน ของ อ. สุลักษณ์
"ศรีบูรพา". จนกว่าเราจะพบกันอีก (กรุงเทพฯ:ดอกหญ้า 2545)
กุหลาย สายประดิษฐ์, "จาก 'ศรีบูรพา' ถึง 'หลวงสารานุประพันธ์'" ใน บุคคล อนุสรณ์(กรุงเทพ: แม่คำผาง, 2548)
ส. ศิวรักษ์. และคนอื่น ๆ. อัปรีย์ไป จัญไรมา (กรุงเทพฯ : สถาบันสันติประชาธรรม, 2534)
ส. ศิวรักษ์. สร้างสรรค์สันติประชาธรรมให้เป็นจริง, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพ, สวนเงินมีมา, 2545)
ส. ศิวรักษ์. จดหมายเหตุ จากถนอมถึงคึกฤทธิ์(กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย,2519)
หนังสือชวนอ่าน และวิจารณ์หนังสือต่าง ๆ ของ อ. สุลักษณ์
ส. ศิวรักษ์, ค่อนศตวรรษประชาธิปไตยไทยที่เต็มไปด้วยขวากหนาม (กรุงเทพฯ:ศึกษิตสยาม, 2550)
ส. ศิวรักษ์, สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2553)
ส. ศิวรักษ์, เสียงจากปัญญาชนสยามวัย ๗๗ (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2553)
ส. ศิวรักษ์, กิน กาม เกียรติ ในวัย ๘๐ (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2556)
ส. ศิวรักษ์, รากงอก ก่อนตาย (กรุงเทพฯ:สยามปริทัศน์, 2555)
ส. ศิวรักษ์, ลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕ (กรุงเทพฯ:ศึกษิตสยาม, 2554)
สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, พ.ท. ตำนานใหม่ของเบบี๋วนการเสรีไทย:เรื่องราวของการต่อสู้เพื่อเอกราช สันติภาพ และประชาธิปไตยอย่างแท้จริง (กรุงเทพฯ:สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555)
ส. ศิวรักษ์, กล้า ๆ กลัว ๆ ชนชั้นปกครองกับงานฉลอง ๑๐๐ ปี ปรีดี พนมยงค์ (กรุงเทพฯ :ศึกษิตสยาม, 2543)
ปรีดี พนมยงค์, แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์, แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พยมยงค์ (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2552)
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล, เต๋าแห่งประชาธิปไตย (กรุงเทพฯ: สามัญชน, 2556) และ ความฝันเดือนตุลา (กรุงเทพฯ: สามัญชน, 2557)
ส. พลายน้อย. พระยาพหลพลฯ นายกรัฐมนตรีผู้ซื่อสัตย์(กรุงเทพฯ: มติชน, 2555)
ส. ศิวรักษ์, เหลียวหลัง แลหน้า จากพฤษภาคม ๒๕๓๕ (กรุงเทพฯ:มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2536) และ ทำไมจึงตายเพื่อประชาธิปไตย(กรุงเทพฯ : สมาพันธ์, ม.ป.ป.)
พลตรีไพบูลย์ กาญจนพิบูลย์(บก.) ใน ๑๑๑ ปี ฯพณฯ พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา "เชษฐบุรุษ" ๒๙ มีนาคม ๒๕๔๑ (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๕๒)
John Ralston Saul. The Collapse of Globalism And The Reinvention of The World (NY: The OVERLOOK Press, 2005)
ณรงค์ ใจหาญ. หลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เล่ม ๒ (กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2556)
ส. ศิวรักษ์(แปล). แผ่นดิน และประชากรของข้าพเจ้า: อัตชีวประวัติของทะไลลามะแห่งธิเบต(กรุงเทพฯ: ศูนย์ไทยธิเบต, 2556)
เดี๋ยวต้องไปอ่านต่อ พิมพ์ไว้นาน แล้วแต่ไม่ได้อ่านต่อเลย
รวมหนังสือจิ๋ว ๆ
เริ่มมาจากการอ่านหนังสือ "ลอกคราบ เสด็จพ่อ ร.๕" ของ อ. สุลักษณ์แล้ว ภายในหนังสือ ก็มีการแนะนำหนังสือ ต่าง ๆเช่นเคย แต่เนื่องจากหนังสือ ดังกล่าวมีขนาดไม่หนามาก และยังมีหนังสือที่มีขนาดใกล้เคียงกันอีกหลายเล่ม จึงคิดว่าจะทำการรวมหนังสือกลุ่มนี้ไว้ด้วยกัน จะได้ง่ายต่อการกลับมาดู โดยที่หนังสือกลุ่มนี้มีดังนี้
- ลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕
- ความเรียงเรื่องปัญญาชน
- เพื่อน
- สอนสังฆราช
- สาระพระพุทธศาสนาของธิเบต
- พุทธตันตระ หรือ วัชรยาน
- ของดีจากธิเบต : เรื่องกน้ารู้เกี่ยวกับพุทธศาสนาในธิเบต
- แนวคิดทางปรัชญาการเมืองของ อริสโตเติล
- อุดมศึกษาเพื่อความเป็นไท โยงหัวสมอง และหัวใจให้เป็นหนึ่งเดียวกัน
- ธรรมกาย : ฟางเส้นสุดท้าย แห่งความเสื่อมสลายของสถาบันสงฆ์ไทย แล้วเราจะกู้สถานการณ์ได้อย่างไร
- นัยของการเข้าพรรษากับคนรุ่นใหม่
- ขจัดทักษิณาธิปไตย
โดยเริ่มจากเล่มแรก คือ "ลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕"
India in 1872, as seen by the Siamese(Sachchidanand Sahai เขียน BP Publishing, Delhi 2002)
ผจญมาร รสช. ของ ส.ศิวรักษ์(สถาบันสันติประชาธรรม)
กล่าวถึง โรเบิร์ต มอรันต์ ซึ่ง ได้เขียนบันทึกลอกคราบเสด็จพ่อ ร.๕ ในสมัย ร.ศ. ๑๑๒ อย่างถึงพริกถึงขิงดังพระองค์เจ้าปฤษฎางค์ก็ทรงทำเช่นนั้น (เป็นภาษาอังกฤษ) ซึ่งเอกสาร 2 ชิ้นนี้ ตีพิมพ์แล้วในเมืองไทยนี้เอง ดังอาจหาอ่านได้จาก Two views of Siam on the Eve of the Cakri Reformation
อนาคตสำหรับไทย และอุดมคติทางการศึกษา ของ ส. ศิวรักษ์(เคล็ดไทย)
ลอกคราบสังคมไทย ของ ส.ศิวรักษ์
โดยที่ในภาคผนวกของหนังสือเล่มนี้นั้นได้กล่าวถึงหนังสือของ ส.ศิวรักษ์ในชุดดังกล่าว ประกอบด้วย
- ความเรียงเรื่องปัญญาชน
- ลอกคราบปัญญาชนฝรั่ง
- ความเรียงเรื่องเพื่อน
- พุทธศาสนากับปัญหาทางเพศ
- มองไปข้างหลัง แลไปข้างหน้าเมื่อชราภาพครอบงำ
- สอดสร้อยมาลา ศิวาลังการ
- โสกราตีส
- สาบเสือเมื่อพ้นภัยพาล
เล่มต่อมาคือ ความเรียงเรื่องปัญญาชน
เปิดมาเป็นรูปของ Alfred Dreyfus ซึ่งกล่าวว่าถูกรัฐบาลฝรั่งเศสกล่าวหามาเป็นกบฎหรือขายชาติเป็นที่มาให้คนแสดงออกอย่างจิงจังเพื่อปกป้อง Alfred จึงเรียนคนกลุ่มดังกล่าวว่า ปัญญาชน
พูดถึงหนังสือปัญญาชนสยาม ซึ่งเก็บความจากข้อเขียนของ เฮอเบิร์ต ฟิลิปส์
ลอกคราบปัญญาชนฝรั่ง เก็บความมาจากเรื่อง Intellctuals ของ พอล จอห์นสัน
พูดถึงชื่อของคนที่เป็นปัญญาชน เยอะมากเลย ซึ่งไม่รู้จักเลยครับ เดี๋ยวจะค่อย ๆไล่อ่านละกัน
- Raymond Aron(1905-1983)
- Albert Camus(1913-1960)
- Emile Zola(1840-1902)
- Vaclav Havel(1936-)
- Karl Kraus(1874-1936)
- Margaret Buber Neumann(1901-1989)
- Alva Myrdal(1902-1986)
- Sidney Hook(1902-1989)
ปัญญาชนฝ่ายซ้ายที่ถือกันว่าเป็นหัวก้าวหน้า เช่น
- Jean-Paul Sartre (1905-1980)
- Michel Foucault(1926-1984)
- Gunter Grass(1927-)
- Susan Sontag(1933-2004)
- George Orwell(1903-1950)
หลังจากนั้นก็ยังมี
- Primo Levi(1919-1987)
- Manos Sperber ซึ่งกล่าวว่าถูกลืมไปอย่างน่าเสียดายนัก ทั้ง ๆที่ข้อเขียนของเขาแสดงออกซึ่งความเป็นปัญญาชนชาวยิวอย่างสำคัญ
- Arthur Koestler(1905-1983) กับงานเขียนที่สมัยหนึ่งนักศึกษาแทบทุกมหาวิทยาลัยในโลกตะวันตกต้องอ่าน คือ "Darkness at noon" ซึ่งหนังสือเรื่องนี้อีกศตวรรษได้นำมาบรรยายไว้ในเรื่อง The God That Failed
หนังสืออัตชีวประวัติของ Hans Kung โดยเฉพาะเล่ม 2 Disputed Truth: Memoirs II
กล่าวถึงเมื่อก่อน พ.ศ. 2510 เฮอเบิร์ต ฟิลิปส์ ได้ทำงาน วิจัยเรื่อง Intellectuals ซึ่งได้สรุป ว่าคนไทยสมัยนั้นส่วนใหญ่แล้วเป็น Literati ดังนี้ 8 อันดับ
- ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช (หม่อมลิ้นตะไกร)
- วศิษฐ์ เดชกุญชร (ตำรวจเชิงซ้อน)
- เสนีย์ เสาวพงษ์ (ศิลปินผู้ลังเล)
- พระยาอนุมานราชธน (สารานุกรมเดินได้)
- รงค์ วงศ์สวรรค์ (ศิลปินหนุ่ม)
- สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (บ.ก. ผู้กร้าวร้าว)
- ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ผู้ชำนาญงานที่ซื่อสัตย์)
- พุทธทาสภิกขุ (พระที่แท้)
หลังจากนั้น สังคมศาสตร์ปริทัศน์ และ ปริทัศน์เสวนา กับศึกษิตเสวนา ได้เป็นเวทีให้เกิดปัญญาชนรุ่น ถัด ๆมา ถ้าเลือกเอา 10 ชื่อตามแบบอย่าง ฟิลิปส์ ก็ได้
- ปยุตฺโตภิกขุ
- เสกสรรค์ ประเสริฐกุล
- นิธิ เอียวศรีวงส์
- พระไพศาล วิสาโล
- ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
- รังสรรค์ ธนะพรพันธ์ุ
- เกษียร เตชะพีระ
- ธงชัย วนิจกุล
- ชัยวัฒน์ และ สุวรรณา สถาอานันท์
- ผาสุก พงษ์ไพจิตร
นอกจากที่กล่าวมาแล้ว อาจารย์ สุลักษณ์ยังเพิ่มเติมอีกว่าในมุมมองของอาจารย์คนเหล่านี้ก็ถือว่าเป็นปัญญาชนเช่นกันคือ
- เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
- จรัญ โฆษณานันท์
- จรัล ดิษฐาอภิชัย
- ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
- ชาตรี ประกิตนนทการ
- ไชยันต์ ไชยพร
- ไชยันต์ รัชชกูล
- บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์
- สมชาย ปรีชาศิลปกุล
- ประภาส ปิ่นตบแต่ง
- พฤกษ์ เถาถวิล
- มาร์ค ตามไท
- ยุกติ มุกดาวิจิตร
- วราภรณ์ สามโกเศศ
- เวียงรัตน์ เนติโพธิ์
- ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์
- สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
- สุธี ประศาสน์เศรษฐ์
- สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
- สุริชัย หวันแก้ว
- อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์
- อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์
- อลิสา หะสาเมาะ
ในภาคผนวกได้กล่าวถึงกรณี L' Affaire Dreyfus ซึ่งก่อให้เกิดหนังสือออกมาเป็น
หนังสือนิยายชื่อ Vesite โดย Emile Zola
Anatole France เอาไปเขียนเป็นเรื่อง M. Begeret a Paris
Roger Martin du Gard เขียนเรื่อง Jean Barois
Lavedan or Donnay เขียนเป็นบทละคร
Proust เขียนไว้ในเล่มแรก ๆของนวนิยายของเขา A la recherche´du temps per du
หนังสือของ George Orwell เกี่ยวกับการปฏวัติที่ สเปน ที่ชื่อว่า Homage to Catalonia
หนังสือของ Auden (ออเดน) ซึ่งมีกล่าวในหนังสือ ปัญญาชนกับอนาคตสังคมไทย
หนังสือเล่มต่อไปคือ ความเรียงเรื่องเพื่อน
ซึ่งได้เกริ่นไว้ว่า แรงดลใจในการเขียนข้อความนี้มีมาจาก หิโตปเทศ อันเป็นของพราหมณ์
มีการกล่าวถึงหนังสือ Symposium
หนังสือเล่มต่อมา คือสอนสังฆราช
หนังสือ นวโกวาท
หนังสือ วินัยมุข
Constitution of the Buddhist Sangha by Kanai Lal Hazra
Buddhist Monks and Monasteries of India by Sukumar Dutt
ให้ลองอ่านเรื่อง วิวาทะระหว่างท่านพุทธทาสกับ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
The Wealth of Nation by Adam smith
The Pilgrimage of Buddhism by J.R. Pratt
Buddhist Economics ของ ชูมาร์กเกอร์
และ Small is Beauty ของ ชูมาร์กเกอร์
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ โดย พระเทพเทวี(ประยุทธ์ ปยุตโต)
ไผ่แดง ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช อ้างว่า ได้เอาอย่าง ดอน คามิโล
ให้ลองอ่านงานของ แลแซแฟร์
The Stages of Economics Growth : A Non-Communist Manifesto by W.W. Rostow)
หนังสือ พุทธศาสนวงศ์ ของ สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศ
อุดมศึกษาเพื่อความเป็นไท:โยงหัวสมอง และหัวใจให้เป็นหนึ่งเดียวกัน
Education for Liberation ของ Adam Curle แปลออกเป็นภาษาไทยแล้ว ชื่อ การศึกษาเพื่อความเป็นไท โดย นายวิศิษฐ์ วังวิญญู
Religion and Education by John B. Cobb. jr
University Idolatries by John B. Cobb. jr
Envisioning a Fift Model by John B. Cobb. jr
Buddhist Education ของ พระธรรมปิฏก(ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
Radical Conservatism: Buddhism in The Contemporary World
Principia of Methematica อัลเฟรด นอร์ื ไวท์เฮด
ยี อี มัวร์ เขียนเรื่อง Principia Ethica
Wittgenstein, Avrum Stroll, OneWorld Publication 2002
ความเข้าใจในเรื่องของมหายาน ของ ส. ศิวรักษ์
หฤทัยสูตร
ความเข้าใจในเรื่องวิญญาณวาท ของ ท่าน นัทฮันห์
มรรควิธีแห่งการฝึกตน ของ ทะไลลามะ
อุดมศึกษาเพื่อความเป็นไท:โยงหัวสมอง และหัวใจให้เป็นหนึ่งเดียวกัน
Education for Liberation ของ Adam Curle แปลออกเป็นภาษาไทยแล้ว ชื่อ การศึกษาเพื่อความเป็นไท โดย นายวิศิษฐ์ วังวิญญู
Religion and Education by John B. Cobb. jr
University Idolatries by John B. Cobb. jr
Envisioning a Fift Model by John B. Cobb. jr
Buddhist Education ของ พระธรรมปิฏก(ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
Radical Conservatism: Buddhism in The Contemporary World
Principia of Methematica อัลเฟรด นอร์ื ไวท์เฮด
ยี อี มัวร์ เขียนเรื่อง Principia Ethica
Wittgenstein, Avrum Stroll, OneWorld Publication 2002
ความเข้าใจในเรื่องของมหายาน ของ ส. ศิวรักษ์
หฤทัยสูตร
ความเข้าใจในเรื่องวิญญาณวาท ของ ท่าน นัทฮันห์
มรรควิธีแห่งการฝึกตน ของ ทะไลลามะ
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
หลังจากหายไปนาน
หลังจากหายไปนาน นานมาก จนจำไม่ได้ว่านานแค่ไหน ขี้เกียจนั่งดูเวลาที่หายไป ช่วงที่ผ่านมาต้องทำหลาย ๆ อย่างที่สำคัญ (คือเรียนให้จบก่อน) เลยไม่ค่อยได้มีเวลามาพิมพ์ หนังสือก็อ่านน้อยลง ตอนนี้พอกลับมา แล้ว กำลังมีไฟเริ่มอ่านหนังสือใหม่ หนังสือที่จะมาอ่านตอนนี้ออกจะเป็นแนวธุรกิจ เลยครับ เพราะว่าเป้าหมาย ของผม คืออยากทำ Passive Income เพื่อที่จะได้มีเวลาทำความฝันในอนาคตมากขึ้น ช่วงนี้ที่กลับมาอ่าน ขอเริ่มจากหนังสือของ คุณ บัณฑิต อึ้งรังษี ชื่อหนังสือ "เกิดมาเพื่อชนะ"
ซึ่งภายในหนังสือเล่มนี้ได้แนะนำหนังสือใหม่ ที่ผมสนใจคือ
The E-myth ของ Michael E. Gerber
ซึ่ง idea ของหนังสือเล่มนี้ คุณ บัณฑิต กล่าวว่า
หน้าที่ของคุณ คือสร้างระบบ ไม่ใช่ไปทำงานในระบบนั้นเอง ไม่งั้นจะกลายเป็น... คุณซื้องานให้ตัวเองทำ ตอนแรกอยากเป็น "เจ้านายตัวเอง" แต่ต้องกลายมาเป็น "ทาสของระบบตัวเอง" นั้น หยุดทำงานไม่ได้ ไม่ใช่เป็นเจ้าของธุรกิจ
หนังสือ The psychology of winning ของ Dr. Dennis Waitley
หนังสือ The science of being great ของ Wallace Wattles
หนังสือ Success Through a Positive Mental Attitude ของ W. Clement Stone & Napoleon Hill
หนังสือ Wisdom of the ages ของ Wayne W.Dyer
หนังสือ You were born rich ของ Bob proctor
หนังสือของ Tom Peters เกี่ยวกับ Personal branding
หลังจากอ่าน "เกิดมาเพื่อชนะ" จบแล้วก็ต่อกันที่หนังสืออีกเล่มของคุณบัณฑิต เลยละกัน
ชื่อหนังสือ "สำเร็จก่อนใคร" ซึ่งผมสังเกตุว่า เป็นเล่มที่ 3 ในกลุ่มของหนังสือโชคดีของคุณบัณฑิต แต่ผมไม่มีสองเล่มแรก ไม่เป็นไรขออ่านเล่มนี้ไปก่อนละกัน
อ่าน ๆมาก็เจอ แนะนำ T. Harv Eker ซึ่งเป็นคนเขียน "Secret of Millionaire Mind"
แนะนำ Website "www.chagethis.com"
BLOG "Zen habits" ของ Leo Babauta
เดี๋ยวต้องมาอ่านต่อ วันนี้ไมไ่ด้พกหนักงสือ ของ คุณบัณฑิต มา ไม่มีอะไรอ่าน เลยต้องหาหนังสือ อ่าน พิดี ไปได้หนังสือ ที่บื่ อ
"How to be a brilliant Thinker" ของ Paul Sloane มา ครับ สนใจ ที่ชื่อหนังสือ ซึ่งพอเริ่มอ่านก็น่าสนใจมาก
และเค้าได้พูดถึงหนังสือ ที่ชื่อ
Why didn't I think of that? ของ Charles McCoy
Irrationality ของ Stuart Sutherland
น่าสนใจมากเลย เดี๋ยวค่อยหามาอ่าน ห้า ๆๆ
Hare Brain Tortoise Mind ของ Guy Claxton
Perplexing altered Thinking Puzzles
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)