ที่มาสำคัญของหนังสือเล่มนี้คือ
The English Governess at the Court of Siam ของ มิสซิสแอนนา เอช. เลโอโนเวนส์
The People of Siam ของ เซอร์ จอห์น บาวริงก์
A Physician at the Court of Siam ของ ดร.แมลคัม สมิท
Anna and the King of Siam
Siam at Cross-Road ของ เซอร์ โจเซียท์ ครอสบี
Mission Pavie ของ โอกุ๊ส ปาวี (ทั้งชุด ๙ เล่ม)
Mission Aymonier ของ Aymonier (ทั้งชุดมี ๓ เล่ม)
The People and Politics of the Far East ของ เซอร์ เฮนรี่ นอร์แมน
The Modern Odessey ของ ดร. ไฮเซอร์
Siam in Transition ของ เค.พี. แลนดอน
Inside Asia ของ จอห์น กันเฮอร์
Bangkok Calender ของ ดร. ดี. บี แบรดลีย์ รวบรวมพิมพ์ในหนังสือ Journal of Siam Research Society ปี ๑๙๒๗ และ ๑๙๒๘ ความคิดเห็นเกี่ยวกับชาติพันธ์ุไทยได้มาจากหนังสืองานค้นคว้าของ Ecole Francaise Extreme Orient
หลักไทย ของ ขุนวิจิตรมาตรา
ปาฐกถาของหม่อมเจ้าทองทีฆายุ ทองใหญ่
พงศาวดารเจ้าพระยาทิพากรวงศ์
บันทึกของเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี
คำเล่าของเข้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
หนังสือสยามประเภท ของ ก.ศ.ร. กุหลาบบางเล่ม
Siam Repository ของหมอแซมมวล สมิท แห่งบางคอแหลม
กล่าวถึงหนังสือ ของ
จอร์จ แบรนเดส เขียนเรื่อง Napoleon เป็นคนวิจารณ์ว่า Napoleon น่าจะขี้ขลาด
เอมิล ลุดวิก เขียน Leonardo da Vinci
ฮิวจ์ เบาเวอร์ส เขียน Abraham Lincoln
โซลด์ เดอ ฮาซันยี เขียน The Star Gazer (ชีวิตของ กาลิเลโอ)
MEGA BIBLON MEGA KAKON
ชาวโลกพึงรู้ 3 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน
๒๙
พระพุทธเจ้าหลวง ทรงเขียนว่า
เสนาบดีของพระองค์นั้นเหมือน "ควายหีบอ้อย" มีความรู้อะไรก็ไม่ทะลุตลอด เผลอไม่ลงปฏักก็ไม่ทำงาน... ชาติไทยเล่า เหมือนเรือรั่วฯ ทรงขอความช่วยเหลือจาก ส.ร.อเมริกา เกี่ยวกับความเป็นชาติไทยในขั้นสุดท้าย คล้ายๆ กับประเทศเกาหลีก่อถูกญี่ปุ่นเข้าครอบครอง
เมื่อเร็วๆ นี้เริ่มมีความเข้าใจสะพัดกันว่า เมืองไทยเขียนคนดีหรือมีคนดีคนสามารถจริงๆ น้อย เราจึงตามโลกไม่เทียมทันกับโลกเขา? ทำไมเราจึงมีแต่พวก Dogmatic? กล่าวคือถ้าเปเรียนวิชาอะไรมาก็ว่าวิชาที่ไปเรียน "เท่านั้น" เป็นวิชาอื่นหาใช่ "วิชา" ไม่ หรือถึงใช่ก็ไม่สำคัญหรือไม่จำเป็นบุคคลประเภทนี้เรียกว่า Academic Isolationist โดยเอาตัวรอดไปเบื้องหน้า สร้างระเบียบอันคับแคบและกระด้างขึ้นป้องกันความเอาตัวรอดนั้น หันหลังให้สังคม ไม่สนใจต่อความพิการใหญ่หลวงของสังคมไทยเรื่อง "มีคนดีน้อย" ซึ่งพระมหากษัตริย์ไทยที่ฉลาดที่สุดทรงสารภาพไว้ ๖๐-๗๐ ปีมาแล้วว่า คนไทยชั้นสูงหรือสูงสุดนั้น "รู้อะไรก็รู้ไม่ตลอด"
หาหนังสือตอง ต.ว.ส. วรรณาโภ (เทียนวรรณ) จริงๆ ส.ธรรมยศ ก็เขียนหนังสือเกี่ยวกับเทียนวรรณ และก็มีผู้อื่นที่รวบรวมงานของเทียนวรรณเช่นกัน
งานของ อาลแบรต์ มาตีเอต์ (๒๒)
สารคดีเกี่ยวกับวิธีปฏิวัติจิตใจชาวไทย...เพื่อให้เป็นตนเอง เพื่อให้พึ่งตนเอง
ต้องศึกษาวิชาปรัขญาเบื้องต้น ตั้งแต่ ชั้นมัธยมปีที่ ๗ ขึ้นไป และต้องศึกษาวิชา International Relation ก่อนรับปริญญา
หลักอักษรศาสตร์ขั้นวิจารณ์ในทัศนะของ เพลโต ผู้เขียนหนังสือไพเราะที่สุดแห่งชาติกรีก
และในทัศนะของอเบลาต์-รุสโซ ผู้เขียนหนังสือไพเราะที่สุดแห่งชาติฝรั่งเศส
เท่าที่ได้อ่านได้ศึกษามาแล้วนั้น วรรณกรรมชั้นเอก ตำราชั้นเอก ปาฐกถาอย่างเอกมักจะเป็นไปตามลักษณะนี้ (มี ความลึกซึ้ง(Profoundness), เรียกเอกภาพเป็นความยิ่งยงทางความบริสุทธิ์และความริเร่ิม(Refinement), ในขณะเดียวกัน ตำราที่ดี และปาฐกถาที่ดีจะต้องประกอบไปด้วยความคมคายอันมีชีวิตจิตใจ (Undry wit), ความชวนขัน(Humour) ซึ่งมีวลีหรือประโยคหยันอย่างแผ่วเบา (Light Satire) เป็นสะพานของความคิด หากขาดคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งไปก็ย่อมจะได้ชื่อว่าทำลายอักษรศาสตร์ เป็นโจรเป็นซาตาน
อ่านแล้วก็มักจะทำให้คิดถึงหยังสือ ของ เดสิเดอริอุส อีราสมุส เรื่อง "ยุคแห่งคนโฉด" (The Follish Age) และนึกถึงเรื่อง Don Zuixote ของ แซร์วันเตส ในหนังสือทั้งสองเล่มนั้นมีความเยอะหยันว่า อักษรศาสตร์ซึ่งเป็นวิชาที่ยากอย่างยิ่งได้กลายเป็นหญ้าปากคอก ทุกหนทุกแห่งเต็มไปด้วยบุรุษอาชาไนยที่เก่งกล้าสามารถยิ่งกว่า Socrates และ อนักซากอโรส
"ดีที่สุดในประเทศสยาม" พระนามและชื่อของ เจ้าฟ้าจุฑามณี, สุทรภู่, ต.ว.ส. วรรณาโภ, ขรัวอินโข่ง, ก.ศ.ร. กุหลาบ, จ่านายสิบโมรา, คุณพุ่ม จินตกวี, คุณสุวรรณ, หลวงนายสิทธิ, จมื่นราชามาตม์ (ขำ บุนนาค) ฯลฯ
The Religion of the Animals ของ จอร์จ ซานตายานา
นักเขียนชีวประวัติอันโด่งดังที่คนไทยรู้จัก บ้างคือ ดร. เอมิล ลุดวิก ฯลฯ ก็ยังคง เขียน เรื่อง Napoleon สู้ จอร์จ แบรนเดส เขียนไม่ได้ เปรียบเทียบไว้ ถึงขึ้นว่าเหมือน
"อาญัณโฆษ" เหนือ "กาญจนภาคพันธ์ุ"
สมเด็จฯ กรมพระยายริศ ฯ เหนือ สมเด็กฯ กรมพระยาดำรงฯ
ต.ว.ส. วรรณาโภ เหนือ ก.ศ.ร. กุหลาบ
พระมหากษัตริย์ที่ทรงก่อนสร้างอุปถัมภ์พระพุทธศาสนามากมายเป็นพิเศษนั้น เนื่องมาจากทรงทำสงครามมามากมายประการหนึ่ง ทรงกระทำความผิดร้ายอย่างแรง เช่นปิตุฆาต มาตุฆาตอย่างใดอย่างหนึ่งอีกประการหนึ่ง พระเจ้าอโนรธามังช่อก็ดี เรื่องสร้างพระปฐมเจดีย์ (พญากงพญาพาน) ก็ดี ดิลกมหาราชก็ดี ฯลฯ แต่ล้วนมาไถ่บาป กับพุทธศาสนาทั้งสิ้น
ว่ามีวัดมากเกินไป ว่าวัดเป็นที่อาศัยทำมาหากินของคนเกียจคร้าน ผู้ไม่ควรแกผ้าเหลืองอร่ามที่ห่มครอง ว่าจะพินิจไปทางไหนก็แลเห็นแต่ความหย่อนยานของพระวินัย ทำให้เป็นที่น่าสังเวช เพราะผู้โกนหัวห่มผ้าเหลืองส่วนมากไม่ผิดกับ "กาฝากเมือง" เท่าใดนัก
"วัดเฉพาะภิกษุสงฆ์ธรรมยุติกเพศ"
"ผู้ไม่มีความรู้ทางวิชาคำนวณและดนตรี ห้ามเข้ามา ณ สถานที่นี้"
หนังสือ Whither Mankind ของ Bertrand Russel
The Civilization of the East and the Civilization of the West ของ ปรัชญาเมธี หูซึ้ง
งานของพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เตชะคุปต์)
พงศาวดารกรุงศรึอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ (แพ ตาละลักษณ์) ซึ่งเป็น "พงศาวดารพรหมจารี"
The English Governess at the Siamese Court ของ แอนนา เลโอโนแวน ซึ่งเป็นที่มาของหนังสือ
Anna and the King ของ มิสซิสมากาเรต แลนดอน
นอกจากนั้นแล้ว แอนนายังเขียน The Romance of Harem
กวีอย่างพระมหามนตรี (ทรัพย์) ผู้แต่งหนังสือ "ระเด่นลันได" หรือหม่อมเจ้าอิศรญาณฯ เจ้าของกลอน "อิศรญาณ ชาญกลอนอักษรสาร" เป็นครทราม หรือคนบ้าในรัชสมัย "พระเจ้ากรุงสยาม" แต่ในสมัยนี้เราจะหากวีไทยฝีปากคมเท่าเทียบแม้จำนวน ๑ ในแสนก็หามิได้
หมอสมิธเล่าไว้ในหนังสือ A Physician at the Court of Siam
ศาสตราจารย์ปอลเซน เขียนไว้ในหนังสือ A System Ethics ว่า "คนที่ไป อิงคะแลนด์ กับคนที่ไม่ไป อิงคะแลนด์นั้น ภูมิฐานและน้ำหนักเสียงแตกต่างกันมากนัก"
หนังสือ ผิวเหลือง และผิวขาว ของ หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง ระพีพัฒน์
หนังสือ From Penang to Shanghai เขียนโดย ชาวฝรั่งเศสคนหนึ่ง
การที่พระสยามินทร์ทรงผูกไมตรีอย่างขันเชนาะเป็นขั้นๆ ไป ถ้าจะให้เปรียบเทียบแล้วก็นับว่าทรงรู้นิสัยใจคอของชาวอังกฤษได้อย่างถูกต้อง คล้ายกับทรงเคยอ่านหนังสือ English Traits ของ อีเมอร์สันมาแล้ว
อาจจะต้องหาเรื่องเกี่ยวกับ พระยากัลยาณไมตรี (ดร. ฟราสซิส บี แซร์) อ่าน
ปอลเซน ศาสตราจารย์วิชาปรัญาแห่งมหาวิทยาลัย กล่าวไว้ในหนังสือ A system of Ethics ว่า ชาวสมาคมที่จะพึงเรียกได้ว่าเป็นประเภท Average นั้นย่อมไม่เพียงแต่จะสามารถสนทนาและให้ความคิดเห็นเกี่ยวแก่ความฉลาดจากสมัยเพลโต-ค้านท์ เท่านั้น หากต้องเจนจัดในเหตุการณ์ของโลกในยุคต่างๆ เจนจัดในสารัตถะแห่งศาสนาทั้งปวง, ศิลปะจากสมัยเกร็กโก-โรมัน, บีแซนตีน, สมัยฟื้นฟู, สมัยใหม่, วรรณคดียุโรป, ประวัติศาสตร์และบทแปล(Interpretation) ชั้นสูงแห่งยุค ฯลฯ ปอลเซนให้คำ Kultur ซึ่งมีนัยเป็นพิเศษว่าเป็น "พลังปฏิรูปเพื่อความก้าวหน้าแห่งสังคม" พิสดารกว่าคำ Culture ในภาษาอังกฤษ ที่มีนัยอย่างดีที่สุดเพียง "มาตรฐานแห่งรสนิยมทางความฉลาดและความงาม-ความไพเราะของโลก" เท่านั้น
หนังสือชื่อ Modern English Usage ของ เฟาเลอร์ เป็นผู้ร่วมเขียนปทานุกรม Concise Oxford อันเป็นปทานุกรมที่นักศึกษาภาษาอังกฤษชั้นสูงทั่วโลกนิยมใช้ยิ่งกว่าปทานุกรม King's Englsih
ความเรียงร้อยแก้วเล่มแรกโดยคนไทย ที่ตีพิมพ์ชื่อหนังสือ My Boy hood in Siam จอง กุมุท จันทร์เรือง
ดร.เอ.เจ ครอนิน ผู้แต่งเรื่อง The Citadel อันมีขื่อ
เอกสารที่นักอ่านไทยพอจะพลิกอ่านเปรียบเทียบ Intellectual demonstration ของชาวไทยกับชาวต่างประเทศในกรุงเทพฯ มีอยู่ชุดหนึ่ง คือ นิตยสารของ The Siam Research Society ปีเก่า ๆ โดยเปรียบเทียบฝืมือกันอย่างละเรื่องต่อเรื่อง ไม่ต้องถึงกับพลิกไปอ่านหนังสือค้นคว้าของสมาคมค้นคว้าแห่งอินเดีย และอินโดจีนฝรี่งเศส
พระสยามินทร์ทรงเห็นผู้หญิงเป็นดุจสำนวนของ อิริค มาเรีย เรอมาร์ค ในหนังสือเรื่อง The Road Black ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลว่า "ผู้หญิงคืสิ่งมีชีวิตที่นอนแบหงายให้ผู้ชายปลดเปลื้องความกำหนัด"
ผู้ทรงความรู้ทางโหราศาสตร์คนหนึ่ง คือ เจ้าพระคุณ พระภัทรมุณี (อิน ป.๙) วัดทองธรรมชาติ
หนังสือ Uncle Tom's Cabin ของ Harriet Beecher Stowe
หนังสือ The Modern Odessey ที่ ดร.ไฮเซอร์ผู้กราบทูลรัชกาลที่ ๖ เรื่องการแพทย์และสุขาภิบาลของกรุงเทพฯว่าล้าหลัง หรือ อนารยะ เต็มที่ ยังถูกกริ้ว
นวนิยายภาษาไทยเท่าที่เคยอ่านแล้วเห็นมีเล่มเดียวเท่านั้นที่แต่งโดยสุภาพสตรีและบรรลุสถานะของความดีสูงสุดทางจิตใจของอิสตรี คือ หนังสือ "หนึ่งในร้อย" ของดอกไม้สด
หนังสือ "วิถีแห่งสันติภาพถาวร"
หนังสือ Fifty years of the American Mission in Siam
ในประวัติวรรณคดีของโลก มีหนังสือเล่มเดียว "หลายเล่ม" ทรงพลานุภาพอย่างยิ่ง กระทั่งนักปฏิวัติต้องถืออ่านตะโกนขึ้นอย่างดังไปตามถนน เช่น หนังสือสัญญาประชาคม Le Contrat Social ของ รูสโซ
บางเล่มทำให้คนอ่านฆ่าตัวตายภายหลังเมื่ออ่านจบลงเช่นหนังสือ ความเศร้าของหนุ่มแวรแทร The Sorrow of Young Werther ของ เกอเธ
บางเล่มทำให้คนถูกเผาทั้งเป็น, ต้องหนีไปอยู่ต่างประเทศ, ต้องปฏิรูปการศึกษา, ต้องเปลี่ยนการปฏิบัติการแห่งชีวิตใหม่ ฯลฯ
ในเมืองไทยเรา หนังสือ "พระลอ" ทำให้สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหลงใหล กระทั่งบำเพ็ญพระองค์เป็น "พระลอ"
หนังสือ "พระอภัยมณี" ของ สุนทรภู่ ทำให้คนอยากเป็นศิษย์ของสุนทรภู่ทั้งประเทศ
หนังสือ "ขุนช้างขุนแผน" ทำให้ผู้ปกครองหญิงทุกคนทุกบ้านทุกเมืองไม่กล้าตั้งชื่อลูกสาว หรือหลานสาวคนว่า "วันทอง" แม้ "วันทอง" จะเป็นคนดี ไม่ใช่คนชั่วเพียงใดก็ตาม ฯลฯ
การปฏิวัติของ มุตซูฮิโต ของญี่ปุ่น กับ การเปลี่ยนแปลงการปกครองของ ร.๕
เปรียบเทียบ หนังสือ Anna and the King ว่าถูกต้องเพียง 75% จะว่าไปหนังสือเล่มใด จะถูกต้อง 100%
หรือจะให้เทียบกับ La Confession ของ ชองช้าค รูสโซ หรือหนังสือ The Story of Mankind ของ เอช จี เวลล์ ซึ่งทะเลาะกับ ฮีแลร์เบลล๊อก
นักเลงพงศาวดาร "ลานทอง"
วิชา History of Civilization และวิชา Interpretation of History
อาจารย์ประวัติศาสตร์ ที่เก่งที่สุดในชีวิตที่ ส.ธรรมยศ เคยพบ คือ หลวงกีรติวิทโยฬาร
Geograpical Interpretation of History ของ โทมัส เฮนรี่ บัคเกิล
Psychological Interpretation of History ของ จอร์จ วิลเฮม เฮเกล
Religion Interpretation of History ของ ช้าค เบนีน โบสสุเอต์
Socialogy ของ โอกุ๊ง กองต์
หนังสือประวัตศาสตร์ของความคิด?? School of though
พูดถึง พระยามิลินท หรือ เมนันเดอร์ ศิษย์สำนัก Neo-Planismot
The Adventure of Scientists
The History of Discovery
The Theory of Research
The House of the Great men
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น