เนื้อหาหนังสือจะพาเราไปเจอหนังสือต่าง ๆมากมาย ซึ่งเรื่องแรกเป็นเรื่อง สามก๊ก แต่ว่าผมอ่านไปแล้ว ยังไม่กลับไปดูใหม่ละกัน วันนี้ผมเริ่มอ่านที่
เรื่องแรก "สังข์ทอง"
หลังจากอ่าน เรื่อง สังข์ทอง แล้ว เค้าพูดถึง วรรณกรรม ประเภท Dues ex Machina ไม่รู้จัก แต่รู้จัก Homer เพราะก็เขียนแบบนี้ แต่ไม่เคยอ่าน Homer
Homer ที่ดัง ๆก็ Iliad
และ Odyssey
นอกจาก Homer แล้วก็ได้เอ่ยถึงนักเขียนที่เขียนงานในทำนองเดียวกันคือ "Sophocles" หนังสือไม่ได้แนะนำเล่มนี้เอามาแปะเอง
และ "Euripedes"
ซึ่ง Sopheles กับ Euripedes เป็นนักแต่งบทละคร
หลังจากเอ่ยถึงสองคนนี้แล้ว ก็พูดถึงลักษณะการแต่งของสังข์ทองว่ามีลักษณะคล้ายกับ King lear ของ Shakspear
เรื่องที่สอง ขุนช้าง-ขุนแผน
พูดถึง Sigmund freud จะว่าไปแล้วหลายตั้งแต่จำได้ นี่ได้ยิน ชื่อ และทฤษฏี มา หลายครั้งมาก และเคยคิดที่จะหาหนังสือของ Freud มาอ่านหลายครั้ง แต่ความพยายาม มักพ่ายแพ้ความขี้เกียจ และการลืม
มีการพูดถึง เสฐียรโกเศศ กับหนังสือที่ชื่อว่า "ประเพณีไทย" แต่ผม search ขึ้น แบบนี้ไม่เป็นไรขอ แปะ ๆไว้ก่อนละกัน
เรื่องที่สาม "พระลอ"
เรื่องนี้ มีการพูดถึง หนังสือไทย อีกหลายเล่ม เช่น อิเหนา, หัวใจนักรบ, มัทนะพาธา, ยวนพ่าย พระลอ, ลิลิต เตลงพ่าย, กำศรวลศรีปราชญ์, นิราศนรินทร์, จินดามณี, พระชัยสุริยา ซึ่งคุ้น ๆหูอยู่บ้าง
แต่เล่มที่แปลกตาออกมือ นักเขียนที่ชื่อ Keates
มีหนังสือชื่อ มูลบทบรรพกิจ อีกเล่มที่ไม่เคยได้ยิน
บทที่สี่ "เชคสเปียร์"
เปลี่ยนจาก เรื่อง มา เป็นบท เพราะว่าเค้ากล่าวถึงคนเขียน
เรื่องแรก คือ "เวนิสวานิช"
เรื่องที่สอง "Macbeth"
เรื่องที่สาม "A midsummer nights dream"
เรื่องที่สี่ "Hamlet"
บทที่ห้า"China invades india"
หาหนังสือไม่เจอ ครับเล่มนี้ ทั้งไทย ทั้งอังกฤษ ข้อมูลที่มีมากสุดตอนนี้คือ
V.B. Karnik. China invades India (Bombay: Allied Publishers, 1963) ขอติดไว้ก่อน
บทที่หก "ปาฐกถาเรื่องสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ"
แนะนำ พระประวัติลูกเล่า
แนบเล่มนี้ไว้ด้วยเลยละกัน กับ"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับกระที่รักวงมหาดไทย" (พระนคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2506)
บทที่หก "The Devil's Discus"
บทที่เจ็ด "
SOUTHEAST ASIAN UNIVERSITY. A COMPARATIVE ACCOUNT OF SOME DEVELOPMENT PROBLEMS
"
บทที่แปด "The silk project"
บทที่เก้า "The ambassador"
จากนั้นก็ได้พูดถึงหนังสืออีกเล่มของ Morris west คือ "The shoes of the Fisherman"
บทที่สิบ "พระประวัติ และงานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ"
กลับมาที่งานของกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้พูดถึงหนังสือที่น่าอ่าน อีก คือ
"สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตามทัศนะ ส.ศิวรักษ์"
"ความทรงจำ"
"ประวัติพระยาพฤฒาธิบดี"
"ประวัติการศึกษาสยาม" เล่มนี้หาไม่เจอ
"เทศาภิบาล"
"นิทานโบราณคดี"
"สาส์นสมเด็จ"
"พระประวัติลูกเล่า"
บทที่สิบเอ็ด "พระพุทธประวัติหินสลัก"
เป็นหนังสือที่เขียนโดยท่า พุทธทาสภิกขุ จากนั้นได้มีการแนะนำหนังสือ ชื่อ"หนังสือสนุก"
บทที่สิบสอง "เมืองนิมิตร"
บทที่สิบสาม "The inside story of communist china"
บทที่สิบสี่ "The new asia"
เล่มที่สิบห้า "The United States in Vietnam"
แนะนำหนังสือ ที่ชื่อว่า "สงครามเวียดนาม: สงครามกับความจริงของ "รัฐไทย" พวงทอง ภวัครพันธุ์"
เล่มที่สิบหก "The new face of Buddha"
แนะนำหนังสือที่ชื่อว่า "พุทธศาสนาในประวัติศาสตร์จีน" แปลโดย จำนงค์ ทองประเสริฐ
และ "Buddhism or Communism: Which Holds the Future of Asia?" Ernst Benz
เล่มที่สิบเจ็ด "Adventure with Authors"
ได้กล่าวถึงนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคนั้น คือ "Andrew Lang"
บทที่สิบแปด "Thailand: The war that is, the war that will be"
พูดเกี่ยวกับผู้เขียนว่าเอามาจาก Politics in Thailand
และ หนังสือชื่อ "The ugly american"
เล่มที่สิบเก้า "Republic"
มีการพูดถึงหนังสือ ยูไทโพร(วิธีการจของโสกราตีส)
อโปโลเกีย(โสกราตีสแก้คดี)
ไครโต(โสกราตีสในคุก)
เฟโด(วาระสุดท้ายของโสกราตีส)
ภัทรานุสรณ์ได้รวบรวมหนังสือดังกล่าวไว้ในเล่มเดียว
หลังจากนั้นได้จัดพิมพ์ใหม่ภายใต้ชื่อหนังสือ "โสกราตีส"
นอกจากนี้ยังมีหนังสือ อุตมรัฐ
เล่มที่ยี่สิบ
"ชุมนุมนิพนธ์ เพื่อถวายพระเกียรติแด่ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์"
ซึ่งเล่มนี้มีทั้งหมด 6 เล่ม ครับ
ได้พูดถึงหนังสือประเภท melange และหนังสือดังนี้
ขอบข่ายสังคมศาสตร์(ตามนัยของบรรณารักษศาสตร์) ฉุน ประภาวิวัฒน์
ระบอบรัฐธรรมนูญในตุรกี(โดย ไพโรจน์ ชัยนาม)
เทาน์เซนต์ฮารีส และเมืองไทย(รอง ศยามานนท์)
History and historiography ของ โกศล สินธวานนท์
พระประวัติ(โดย ม.ล.ปีกทิพย์ มาลากุล)
ร้อยปีพระองค์วรรณ (ส. ศิวรักษ์)
เสด็จในกรม (จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์)
ที่เว้นไว้คือที่หาหนังสือจาก internet ไม่เจออาจจะต้องไปตามหาเอาจากที่อื่น
เล่มที่ยี่สิบเอ็ด "Twilight in Djakarta"
เล่มที่ยี่สิบสอง "Mongkut, The king of Siam"
พูดถึงหนังสือจาก ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช และ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ชื่อ The King of Siam Speaks
เล่มที่ยี่สิบสาม "Thailand: Political, Social and Economic Analysis"
เล่มที่ยี่สิบสี่ "Bangkok"
ของ Martin Hurlimann
เล่มที่ยี่สิบห้า "Siamese tapestry"
เล่มที่ยี่สิบหก "สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนารถ"
เล่มที่ยี่สิบเจ็ด "Introduction to Pali"
A.K. Warder. Introduction to Pali(London: Luzac, 1963)
เล่มที่ยี่สิบแปด "Bangkok, Siam's City of Angels"
Germaine Kuril. Bangkok, Siam's City of Angel(London:Robert Hale, 1964)
เล่มที่ยี่สิบเก้า "Viskha Puja B.E. 2507"
Sulak Sivaraksa(editor). Visakha Puja B.E.2507(Bangkok:Buddhist Association of Thailand, 1964)
เล่มที่สามสิบ "What is Buddhism?"
Bhikkhu Khantipalo. What is Buddhism?(Bangkok: Social Science Association Press, 1965)
เล่มที่สามสิบเอ็ด "The Naga King's Daughter"
Stuart Wavell. The Naga King's Daughter(London: Allen&Unwin, 1965)
ในนี้ได้กล่าวถึงหนังสือ The Far Province ซึ่งแปล โดย ตุลจักร์เป็น
ฟราสซิส คริปส์. สภาพอีสาน แปลโดย ตุลจักร์ (พระนคร:ศึกษิตสยาม, 2515)
เล่มที่สามสิบสอง "The Brinkman"
Desmond Meiring. The Brinkman (Boston: Houghton Mifflin, 1965).
กล่าวถึง The Quiet American ของ Graham Greene
หนังสือ อีสานนิยม:ท้องถิ่นนิยมในสยามประเทศไทย ของ ชาร์ลส์ เอฟ. ไคส์ แปลโดย รัตนา โตสกุล โครงการตำราสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์, 2556)
เล่มที่สามสิบสาม "The Second Asian Writers' Conference"
เล่มที่สามสิบสี่ "The Partimokkha"
Ven. Myanamoli thera(A Translation of The Pali). The Patimokkha - 227 Fundamental Rules of a Bhikkhu (Social science Association Press, 1966)
เล่มที่สามสิบห้า "A Siam"
Merie-Jean Vincoiguera, A Siam
เล่มที่สามสิบหก "The Wisdom Gone Beyond"
The Wisdom Gone Beyond: An Anthology of Buddhist Texts(Bangkok: Social Science Association Press, 1966)
พูดถึงท่าน ทีฆนาค เป็นนักตรรกศาสตร์ ที่ดีที่สุดในโลก
เล่มที่สามสิบหก "Growing The Bodhi Tree"
Ven Bhikku Khantipalo. Growing The Bodhi Tree (Bangkok:Buddhist Association of Thailand, 1966).
ภาษาไทย ดู เสฐียรพงษ์ วรรณปก. พุทธวจนะในธรรมบท. (กรุงเทพฯ:ศยาม,2555)
เล่มที่สามสิบเจ็ด "The Chinese in Southeast Asia"
เล่มที่สามสิบแปด "Growing The Bodhi Tree"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น