๔ นักเขียนไทยในที่นี้ หมายถึง
ม.จ.อากาศดำเกิง
ดอกไม้สด
ศรีบูรพา
ไม้ เมืองเดิม
ซึ่งเกิดในปี ๒๔๔๘ ดังนั้นหนึ่งซื้อเล่มนี้จึงตีพิมพ์ในปี ๒๕๔๘
แต่ผม อ่านในปี ๒๕๕๙
๑๐๐ คำถามเกร็ดชีวิตและงาน
ม.จ.อากาศดำเกิง
ผู้ประพันธ์หนังสือ ละครแห่งชีวิต
นอกจากนี้แล้วยังมี
ผิวเหลืองหรือผิวขาว
วิมานทลาย
เพื่อนร่วมสมัย มี
ดอกไม้สด เจ้าของผลงาน ศัตรูเจ้าหล่อน
ศรีบูรพา เจ้าของผลงาน ปราบพยศ
หนังสือ อากาศดำเกิงสำนึก คือ การนำผิวเหลืองหรือผิวขาว และวิมานทลายมารวมเล่ม
อาจจะกล่าวได้ว่า ละครแห่งชีวิตเป็นต้นแบบนิยายในต่างแดน เรื่องอื่น ๆเช่น
ข้างหลังภาพ ของ ศรีบูรพา
ปักกิ่งนครแห่งความหลัง ของ สด กูรมะโรหิต
ความรักของวัลยา ของ เสนีย์ เสาวพงศ์
ความรักไม่มีพรมแดน ของ วิไล วัชรวัต
ถนนไปสู่ก้อนเมฆ ของ ธัญญา ผลอนันต์
ฯลฯ
ได้มีการเปิดศักราชการวิจารณ์วรรณกรรมกับ
พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ เจ้าของบทประพันธ์ เกิดวังปารุสก์
ว่ากันว่า ตัวละครใน "ละครแห่งชีวิต" มีตัวตนดังนี้
หนูสำรวย คือ ม.จ.หญิงดวงทิพย์โชติแจ้งหล้า
ย้ายพร้อม คือ พี่เลี้ยงของ ม.จ.อากาศดำเกิง
เด็กหญิงบุญเฮียง คือ เล็ก เกตุทัต อดีตต้นห้องของ ม.จ.หญิงเริงจิตรแจรง
ม.จ.อากาศดำเกิง พบรัก ม.จ.หญิงสวาสดิ์วัฒโนดม
ซึ่งมีนามแฝงคือ "ดวงดาว"
ม.จ.หญิงสวาสดิ์วัฒโนดม ได้แต่งนวนิยาย
คำอธิษฐานของดวงดาว เป็นเรื่องแรกในปี ๒๔๘๐
ต่อมาแต่งอีกหลายเล่ม อาทิ เคหาสน์สีแดง เชลยศักดิ์ ม่านไฟ
จะมีหนังสือชุดโครงการคัดสรรนวนิยายเล่มเด่น ๆของไทย ในพุทธศตรวรรษที่ ๒๐
มาจัดพิมพ์เป็นฉบับภาษาอังกฤษ เพื่อสะท้อนภาพพัฒนาการทางสังคม และวัฒนธรรมของเมืองไทย
ในยุคนั้นสู่สายตานักอ่านชาวต่างประเทศ
ตัวอย่างนิยายดังกล่าว อาทิ
ทางเสือ โดย ศิลา โคมฉาย
ละครแห่งชีวิต โดย ม.จ.อากาศดำเกิง
เรื่องของจัน ดารา โดย อุษณา เพลิงธรรม
คำพิพากษา โดย ชาติ กอบจิตติ
พลายมลวัลลิ์ โดย ถนอม มหาเปารยะ
ทะเลและกาลเวลา โดย อัศศิริ ธรรมโชติ
ทุ่งมหาราช โดย เรียมเอง
งู โดย วิมล ไทรนิ่มนวล
เวลาในขวดแก้ว โดย ประภัสสร เสวิกุล
๑๐๐ คำถามเกร็ดชีวิตและงาน
"ดอกไม้สด"
ดอกไม้สด ชอบงานของ M.Dally นักประพันธ์สตรีชาวฝรั่งเศส
งานเขียนเรื่องแรก คือ ดีฝ่อ
นวนิยายเรื่องแรกของ ดอกไม้สด คือ ศัตรูของเจ้าหล่อน
นวนิยายเรื่องแรกที่ทำให้มีชื่อเสียงคือ ความผิดครั้งแรก
นวนิยายที่พิมพ์รวมเล่มครั้งแรก คือ สามชาย
หนังสือ "ชีวิตและงานของดอกไม้สด" โดย สมภพ จันทรประภา จะเล่าบรรยากาศการทำงานของเธอ
เป็นภรรยา สุกิจ นิมมานเหมินทร์
ซึ่ง สุกิจ นิมมานเหมินทร์ ได้มีงานเขียนหลายเล่มเช่นกัน อาทิ
รวมเรื่องเขียน
รวมเรื่องพูด
บุพพการีบูชา
ผ่านภิภพลีลา และอื่น ๆ
สีปีในสหรัฐอเมริกาและอื่น ๆ
ฟุดฟิดฟอฟอไฟพูดไทยดีกว่า
ลาก่อนมิสเตอร์ชิปส์ (ผลงานแปลร่วม)
สำหรับเล่มที่สร้างชื่อและรู้จักกันในวงกว้าง คือ คนแซ่หลี เรื่องของคนแซ่อื่น
ว่าพลางทางชมคณานก
กลับมาที่ดอกไม้สด ในยุคหลัง ๆไม่นิยมทยอยพิมพ์ผลงานเป็นตอนๆ แต่จัดเป็นเล่ม อาทิ
สมชาย
ชัยชนะของหลวงนฤบาล
หนึ่งในร้อย
ผู้ดี
อุบัติเหตุ
นี่แหละโลก (อยากให้ชื่อ ทางเตียนทางรก มากกว่า)
นันทวัน
หนังสือ กรรมเก่า
ดอกไม้สด ได้ ยกย่องว่าเป็นขุมวิทยาการใกล้ตัว อุปมาเหมือน Encyclopedia
สมัยนี้ก็คงเหมือน google เคลื่อนที่
คือ เจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ แห่งวังปลายเนิน
และสุกิจ นิมมานเหมินทร์
เรื่องของเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ แห่งวังปลายเนิน เดี๋ยวผม ค่อยเพิ่มเติมทีหลัง
แต่ สุกิจ นิมมานเหมินทร์ต้องไปศึกษาอีกมากเลย เนื่องจากเคยได้ยินแต่ชื่อ ไม่เคยอ่านผลงานเลย
จำได้ ว่า ถ้าเป็น งาน อาจารย์สุลักษณ์ อาจารย์ ก็บอกว่า บราเดอร์ที่อัสสัมชันเคยกล่าวไว้ว่า
รุ่นพวกคุณมันใช้ไม่ได้ สู้รุ่นมัซเซอร์ ป๋วยไม่ได้ (อาจารย์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์)
อาจารย์สุลักษณ์ เมื่อได้พบกับคุณป๋วย จึงได้ถามว่า สมัยคุณป๋วย บราเดอร์ พูดจาทำนองนี้หรือไม่
อาจารย์ป๋วยบอกว่า รุ่นพวกคุณมันใช่ไม่ได้ สู้พวก ซุ่นกิ๊ด ไม่ได้ (ซุ่นกิ๊ด ในที่นี้คือ สุกิจ นิมมานเหมินทร์)
หนังสือเธอ ชื่อ หนึ่งในร้อย ถูกแปลเป็นภาษาญี่ปุ่นโดย
ยุนชิโร นิชิโน ผู้แปล คู่กรรมของ ทมยันตีเป็นภาษาญี่ปุ่นเช่นกัน
นอกจาก นวนิยายแล้ว ยังแต่งเรื่องสั้น บทความ บทวิจารณ์ และบทแปล รวมทั้งสิ้น 20 เรื่อง
ซึ่งได้รวมพิมพ์เป็นสองเล่ม ชื่อ พู่กลิ่น และ บุษบาวรรณ
โดยสรุปแล้วผลงานของ ดอกไม้สด ปัจจุบัน หอสมุดแห่งชาติถือครองลิขสิทธิ์ มีดังนี้
ศัตรูของเจ้าหล่อน
นิจ
นันทวัน
ความผิดครั้งแรก
กรรมเก่า
สามชาย
หนึ่งในร้อย
อุบัติเหตุ
ชัยชนะของหลวงนฤบาล
ผู้ดี
นี่แหละโลก
วรรณกรรมชิ้นสุดท้าย
พู่กลิ่น
บุษบาวรรณ
ซึ่งเรื่องพู่กลิ่น นั้น มีบทความ 14 เรื่องได้แก่
Romance ซ้อนเรื่องจริง, เนื้อคู่, นิด ๆ หน่อย ๆ, นิทานคำกาพย์จากต้นฉบับของฝรั่ง, ยิงสัตว์,
แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม, ศิลปคืออะไร, นางในรูป, อัวรานางสิงห์,
การอ่านจากเรื่อง Mein Kampf ของ Adoft Hitler, 4 ชั่วโมงในรถไฟ, หมองูตายเพราะงู--- หมอฟัน---,
พลเมืองดี, คนใจบุญ
ส่วน บุษบาวรรณ นั้นมี 6 เรื่อง ได้แก่
พฤติการณ์ของผู้รักความเป็นโสด, เมื่อกลับจากดูเรื่อง "วอลแตร์", บุพเพสันนิวาส, ไฟ!,
ดวงจักษุของผู้พิพากษา, 1/500
๑๐๐ คำถามเกร็ดชีวิตและงาน
ศรีบูรพา
ศรีบูรพา เป็นนามปากกาของ กุหลาย สายประดิษฐ์
ผู้เป็นสุภาพบุรุษนักคิด นักเขียน นักมนุษยธรรม นักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทย
ที่ยูเนสโกประกาศเกียรติยกย่องเป็นบุคคลสำคัญของโลกในวาระชาตกาล ๑๐๐ ปี
ดู กรุณา กุศลาสัย, รำลึกถึงศรีบูรพา
ดู สุภา ศิริมานนท์, ความทรงจำชีวิต และการต่อสู้ของกุหลาย สายประดิษฐ์
ดู นิธิ เอียวศรีวงศ์, คำปราศรัย ในงานวันนักเขียน ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๕
เรื่อง "แลไปข้างหน้า" บทที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง พ.ศ. ๒๕๔๗
ดูเรื่อง "ศรีบูรพาจากมุมมองของศตวรรษที่ ๒๐" โดย ศ.เกียรติคุณ ดร. เจตนา นาควัชระ
นิยายมีชื่อ ของ ศรีบูรพา อาทิ
ข้างหลังภาพ
สงครามชีวิต
จนกว่าเราจะพบกันอีก
ดู รัญจวน อินทรกำแหง, สงครามชีวิตของ "ศรีบูรพา", วรรณกรรมวิจารณ์ ตอนที่ ๒
ดู สุลักษณ์ ศิวรักษ์, ปาฐกถา สุภาพบุรุษ มนุษยภาพ กุหลาบ สายประดิษฐ์
ดู พระไพศาล วิสาโล, ผู้เป็น ศรีของโลก, คือ อิสสรชน คือคนดี คือศรีบูรพา,
หนังสือระลึก ๑๐๐ ปี ชาตกาล กุหลาบ สายประดิษฐ์
ดู ชนิด สายประดิษฐ์, ชีวประวัติโดยสังเขปของ กุหลาบ สายประดิษฐ์, ข้อคิดจากใจ
เรื่องอ่านเล่นที่ "ศรีบูรพา" เขียนเมื่อเรียนชั้น ม.๘ คือ จ้าวหัวใจ
ดู ศักดิชัย บำรุงพงศ์, สุภาพบุรุษ "ศรีบูรพา", ศิลปวัฒนธรรม
นามศรีบูรพา ได้มาจาก คุณบุญเติม(โกศล) โกมลจันทร์ ที่มีนามปากกาว่า ศรีเงินยวงตั้งให้
บทความ "แถลงการ" เป็นบทความแรก ที่ใช้นามปากกาว่า ศรีบูรพา
"ต้องแจวเรือจ้าง" เป็นงานเขียนที่ใช้ชื่อจริง เป็นครั้งแรก
หนังสือ นวนิยาย ขนาดสั้นเรื่อง "เล่นกับไฟ"
งานเขียนเรื่องสงครามชีวิต เป็นสิ่งที่ศรีบูรพาสร้างสรรค์ขึ้น และถือเป็นงานชิ้นเอกชิ้นหนึ่ง
น่าจะได้รูปแบบและเค้าโครงมาจาก Poor people ของ ฟีโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี้
ดู ผช.ศ. ดร. ตรีศิลป์ บุญขจร, ศรีบูรพา กับ พัฒนากานวนิยายไทย, อิสสรชน คือคนดี คือศรีบูรพา,
หนังสือระลึก ๑๐๐ ปี ชาตกาล กุหลาบ สายประดิษฐ์
ดู ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์, ปริศนาข้างหลังภาพ ของศรีบูรพา, อ่าน(ไม่)เอาเรื่อง
ดู ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, ปริศนา ความรักในข้างหลังภาพ, รุ่งอรุณในนวนิยายไทย
นวนิยายเรื่อง ป่าในชีวิต คือผลงานต่อจาก ข้างหลังภาพ
หนังสือ เบื้องหลังการปฏิวัติ ๒๔๗๕ เป็น 1 ใน 100 หนังสือดีในรอบ 100 ปีที่คนไทยควรอ่าน
หนังสือ บันทึกอิสสรชน ทินกรณ์ของผู้ต้องคุมขัง โดยข้อหาว่ากบฏ
กุหลาย สายประดิษฐ์เขียน ข้าพเจ้าได้เห็นมา
ขณะที่ ศรีบูรพา เขียน จนกว่าเราจะพบกันอีก
ผลงานเด่นอื่น ๆของ ศรีบูรพา คือ
เรื่องสั้นชื่อ คำขานรับ (ไม่แน่ใจว่าเกี่ยวข้องกับการที่ กศิดิษ ตั้งสำนักพิมพ์ ไม่ขานรับหรือไม่)
บทความ ดูนักศึกษา ม.ธ.ก. ด้วยแว่นขาว
กุหลาย สายประดิษฐ์ ได้มีโอกาส ไปปฏิบัติธรรมที่สวนโมกข์ จนถึงกับกล่าวไว้ว่า
"ถ้าเขามีหนังสือ พุทธประวัติจากพระโอษฐ์สักหนึ่งเล่ม
และมีธรรมเทศนาของท่านสัก 3 เรื่อง คือ
วิถีแห่งการเข้าถึงพุทธธรรม
ภูเขาแห่งพุทธธรรม
เรื่องความสงบ
เพียงหนังสือ 4 เล่มนี้ก็เป็นการเพียงพอที่พุทธศาสนิกชนจะลงมือปฏิบัติธรรมได้อย่างเต็มศรัทธาแล้ว"
สามารถหาอ่านงานของ "ศรีบูรพา" ที่เกี่ยวกับธรรมได้จาก
หนังสือ อุดมธรรม กับผลงานชุดพุทธศาสนา โดย ศรีบูรพา
จดหมายโต้ตอบระหว่างท่านพุทธทาสภิกขุกับ "ศรีบูรพา"
ข้อเขียนของสุพจน์ ด่านตระกูล ในชื่อ "คุณกุหลาบ สายประดิษฐ์"
ดู สุพจน์ ด่านตระกูล, รำลึกถึงศรีบูรพา กุหลาบ สายประดิษฐ์,
ดู ไพศาล มาลาพันธุ์, ศรีบูรพา อาชญากรผู้ปล่อยนกพิราบ
งานที่แปล และเขียนในคุกมีดังนี้
แลไปข้างหน้า กับ แม่ภาคแรก ของแม็กซิม กอร์กี้ และบทกวีอาชญากรผู้ปล่อยนกพิราบ
หนังสือเล่มสุดท้ายของสำนักพิมพ์สุภาพบุรุษ คือ หนังสือ "ไปสหภาพโซเวียต"
ศรีบูรพา แปลวานวรรณกรรมไว้ไม่มากชิ้น ที่ค้นพบและรวมเล่มแล้ว เรื่องสั้นมีแค่ 3 เรื่อง
รวมอยู่ในเล่ม "ในยามถูกเนรเทศ" แปลจากเรื่องสั้นของ อันตัน เชคอฟ
และของเมอร์เซ็ท มอห์ม
แต่ถ้าดู "ทินกรณ์ของผู้ต้องคุมขังโดยข้อหาว่าเป็นกบฏ" ก็พบว่า ได้แปล
รีเบคกา, ประวัติ นโปเลียน
ประวัติบุคคลที่แปลมีหลายชิ้น เช่น
"เขาถูกบังคับให้เป็นขุนโจร" แปล และเรียบเรียงจากประวัติการต่อสู้ของ เน็ด เคลลี่
"ชีวิตสอนอะไรแก่สตรีโซชลิสต์ อังกฤษ" เป็นงานรวบรวมแปลชีวประวัติของบุคคลที่น่าสนใจ
และสร้างประโยชน์แก่สังคม มีรวมทั้งหมด 5 คน
เป็นงานแปลร่วม ระหว่าง กุหลาบ สายประดิษฐ์ และจูเลียต โดย
กุหลาบ สายประดิษฐ์แปล 3 ชิ้น คือ
ชีวิตสอนอะไรแก่ข้าพเจ้า เป็น ชีวประวัติของมิสบอนฟิลด์ ผู้นำกรรมกรอังกฤษ
ซุนยัดเซ็น
จิตรกรชาวไร่ ชีวประวัติของจีออตโต
ปรัชญาของลัทธิมาร์กซิสต์
กำเนิดครอบครัวของมนุษยชาติ กล่าวถึงความเป็นมาของมนุษย์ยุดดึกดำบรรพืจนถึงอารยธรรม
โดยใช้หลักทฤษฎีของ Lewis Henry Morgan
ระเบียบสังคมมนุษย์ เป็นหนังสือเรียบเรียงเชิงประวัติสังคมวิทยา
ต่อจากชุด "กำเนิดครอบครัวของมนุษยชาติ"
ดู รุ่งวิทย์ สุวรรณอภิชน, ศรีแห่งวรรณกรรมไทย
เรื่องสั้นของ ศรีบูรพาอีก 2 ชุด คือ
ขอแรงหน่อยเถอะ
รวมเรื่องสั้นรับใช้ชีวิต มีนวนิยายอย่างเรื่องลูกผู้ชาย, ปราบพยศ, แสนรักแสนแค้น, มารมนุษย์,
ผจญบาป, สิ่งที่ชีวิตต้องการ, โลกสันนิวาส, หัวใจปรารถนา, อำนาจใจ
ถ้าเลือกได้เล่มเดียวให้อ่าน "ข้อคิดจากใจ" ของ กุหลาบ สายประดิษฐ์
ศรีเงินยวง ผู้แปล มาดามซองเยน, ทำลายคุกบาสติลล์ ฯลฯ
๑๐๐ คำถามเกร็ดชีวิตและงาน
ไม้ เมืองเดิม
ดู สุวิทย์ ว่องวีระ, ไฟชีวิตของศิลปินไพร่ ชำระประวัติมืดมนของไม้ เมืองเดิม
ดู เหม เวชกร "จากย่ามแห่งความทรงจำของ เหม เวชกร"
ดู วัฒน์ วรรลยางกูร เบื้องหลังของเบื้องหลังบันทึกบรรณาธิการ, คมดาบคันไถ, ไม้ เมืองเดิม
ดู ยศ วัชรเสถียร, มนัส จรรยงค์ และไม้ เมืองเดิม
ดู สุวรรณ เชื้อนิล, การศึกษาวิเคราะห์นวนิยายเรื่อง "ขุนศึก" ของไม้เมืองเดิม
ดู เหม เวชกร ชีวิต และงานของไม้เมืองเดิม, จากหนังสือศิลปิน ปีที่ ๑ เล่มที่ ๓ กันยายน ๒๔๘๕
หนังสือเรื่อง "ทหารเอกพระบัณฑูร" และ "ขุนศึก"
หนังสือเล่มแรก คือ "เรือโยงเหนือ"
เล่มที่สองคือ "ห้องเช่าเบอร์ ๑๓"
เรื่องต่อมาคือ "ชาววัง"
เล่มต่อมาคือ "แผลเก่า"
ดู เหม เวชกร,จากย่ามความทรงจำ, แด่เหม เวชกร
นิยายเกี่ยวกับชีวิตทะเล "สินในน้ำ"
ผลงานก่อนมาเป็นไม้ เมืองเดิม มีดังนี้
ศึกหน้าหอ ใช้นามปากกา "แมนโดริน"
วาสนาไอ้เอี้ยง ไม่ทราบนามปากกา
เรือโยงเหนือ ไม่ทราบนามปากกา
ห้องเช่าเบอร์ ๑๓ ไม่ทราบนามปากกา
ชาววัง ใช้นามปากกา "กฤษณา พึ่งบุญ"
คนดีศรีอยุธยา ใช้นามปากกา "ฮ.ไพรวัลย์"
ผลงานทั้งหมดในนามปากกา ไม้ เมืองเดิม มีทั้งหมด 43 เรื่อง
แผลเก่า
หนามยอก
หนามบ่ง
แสนแสบ
ชายสามโบสถ์
รอยไถ
เรือเพลง
เรือเร่
ศาลเพียงตา
เกวียนหัก
เสือทุ่ง
หมื่นซ่อง
ล้างบ้าง
ศึกกระทุ่มลาย
กลางเพลิง
วิวาห์ล่ม
สาวชะโงก
เสือข้าม
ข้าเก่า
อ้ายขุนทอง
โป๊ะล่ม
สินในน้ำ
บางระจัน
ทหารเอกพระบัณฑูร
ขุนศึก
นางห้าม
อาสาหกเหล่า
สำเภาล่ม
หาสาพ่าย
ข้าหลวงเดิม
แม่หม้าย
สองศึก
หน้าไถ
เสือบาง
นางถ้ำ
ค่าน้ำนม
บึงขุนสร้าง
กระท่อมปลายนา
จะจากน่าเลิ่ง
คุ้งเผาถ่าน
บ้านนอกเข้ากรุง
คนละถิ่น
ลมตะเภา
นอกจากนี้น่าจะมี หนังสืออื่น ๆอีกเช่น
"ตะวันตกดิน" ซึ่งน่าจะเป็นเรื่องสุดท้าย และเขียนไม่เสร็จ
การเขียนขุนศึก ไม้ เมืองเดิม ต้อง พงศาวดารสองเล่ม แล้ว ยังต้องศึกษา
เอกสารชั้นต้นของยุคกรุงศรีอยุธยาอีกหลายเล่ม เช่น กฎ มณเฑียรบาล และบทพระอัยการต่าง ๆ
แล้วยังต้องอ่านตำรับพิชัยสงคราม กับตาราขนบธรรมเนียมประเพณีในราชสำนักกรุงศรีอยุธยาด้วย
ดู คำนำเสนอ ไอ้เสมา "ขุนศึก" ของไม้ เมืองเดิม ไพร่ได้ดีเพราะตีเหล็กที่ย่านสำพะนี
แนะนำหนังสือ บัลลังก์แห่งความทุกข์เข็ญ ของ สุมทุม บุญเกื้อ
"เอื้องแซะเมืองนาย" ของ ลพบุรี
"เห่าดง" ของ พนมเทียน
"ลูกรัก-เมียขวัญ" ของ อรวรรณ
นิยายอิงพงศาวดารขุนศึก ของ ไม้ เมืองเดิม ของ ประยุกต์ บุนนาค
ดู จินตนาการของไม้ เมืองเดิม ในนิยายอิงพระราชพงศาวดาร เรื่องขุนศึก
เรื่องเกี่ยวกับช้าง ต้องอ่าน คำฉันท์ดุษฎีสังเวย,
คำฉันท์กล่อมช้างครั้งกรุงเก่า และคำฉันท์คชกรรมประยูร
ดู มนู จรรยงค์, บ้านสนามเป้า แหล่งผลิตวรรณกรรมลูกทุ่ง
ดู ลมูล อติพยัคฆ์, ไม้ เมืองเดิม นักปกครอง(เมีย)ชั้นยอด